1 / 17

การจัดการดำเนินงาน (Operations Management)

การจัดการดำเนินงาน (Operations Management). บทที่ 1 1 การจัดการสินค้าคงคลัง ( Inventory). การจัดการสินค้าคงคลัง. สินค้าคงคลัง หมายความถึง วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต (Raw materials) สินค้าระหว่างทำ (Work in process) สินค้าสำเร็จรูป (Finished goods). ความสำคัญของสินค้าคงคลัง.

selene
Download Presentation

การจัดการดำเนินงาน (Operations Management)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการดำเนินงาน(Operations Management) บทที่ 11 การจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory)

  2. การจัดการสินค้าคงคลังการจัดการสินค้าคงคลัง • สินค้าคงคลัง หมายความถึง • วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต (Raw materials) • สินค้าระหว่างทำ (Work in process) • สินค้าสำเร็จรูป (Finished goods)

  3. ความสำคัญของสินค้าคงคลังความสำคัญของสินค้าคงคลัง เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ทันที ไม่ทำให้สินค้าขาดมือ • เพื่อป้องกันความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต • เพื่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาด • ทำให้เกิดการประหยัดต้นทุน • ทำให้เกิดความชำนาญเฉพาะทาง • ช่วยการจัดการโซ่อุปทาน ได้รับส่วนลดเมื่อซื้อปริมาณมาก จากการสั่งซื้อจำนวนน้อยครั้ง เพราะมีการผลิตสินค้านั้นๆ ตลอดปี ความสัมพันธ์ที่ดีกับ supplier & customer

  4. ต้นทุนสินค้าคงคลัง 1. ต้นทุนสินค้า (Item Cost) 2. ต้นทุนในการสั่งสินค้า (Ordering Cost) 3. ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า (Carrying Cost) 3.1 ต้นทุนของเงินทุน (Cost of Capital) 3.2 ต้นทุนในการจัดเก็บสินค้า (Storage Cost) 3.3 ต้นทุนสินค้าล้าสมัย เสื่อมสภาพ สูญหาย (Cost of Obsolescence, Deterioration, and Loss) 4. ต้นทุนสินค้าขาดมือ

  5. ประเภทของความต้องการสินค้าคงคลังประเภทของความต้องการสินค้าคงคลัง • สินค้าคงคลังที่ความต้องการเป็นอิสระ (Independent Demand Inventory) หมายถึง ความต้องการสินค้าชนิดนั้นเป็นอิสระจากการดำเนินงานการผลิตของกิจการ หรือ ไม่ขึ้นอยู่กับชิ้นส่วนอื่นที่กิจการผลิตเองหรือสั่งซื้อมา:- สินค้าสำเร็จรูป (Finished goods) ระบบที่ใช้ในการควบคุมสินค้าคงคลังนี้ ได้แก่ EOQ Model, Q System, P System, ABC Classification • สินค้าคลังที่ความต้องการไม่เป็นอิสระ (Dependent Demand Inventory) หมายถึง ความต้องการสินค้าชนิดนั้นขึ้นอยู่กับความต้องการในชิ้นส่วนอื่นที่กิจการผลิตเองหรือสั่งผลิตขึ้นมา ระบบที่ใช้ในการควบคุมสินค้าคงคลังนี้ ได้แก่ การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material requirements planning – MRP)

  6. ประมาณการสั่งที่ประหยัด (EOQ) • Economic Order Quantity (EOQ) เป็นปริมาณการสั่งสินค้าที่ทำให้ต้นทุนรวม (หมายถึง ต้นทุนในการสั่งสินค้า และต้นทุนในการเก็บรักษา)ที่เกิดขึ้นต่ำที่สุด

  7. EOQ พื้นฐาน • Q = ปริมาณการสั่งสินค้า (Lot Size) • CO = ต้นทุนในการสั่งสินค้า/ครั้ง (Ordering Cost / Time) • D = ปริมาณความต้องการสินค้า/ปี (Demand Rate/Year) • CC = ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า/หน่วย/ปี (Annual Carrying Cost / Unit) • Q = 2 COD CC

  8. ต้นทุนในการสั่งสินค้า/ปี = ต้นทุนในการสั่งสินค้า/ครั้ง * จำนวนครั้งที่สั่งสินค้า = CO * D/Q • ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า/ปี = ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า/หน่วย/ปี * สินค้าคงคลังเฉลี่ย = CC * Q/2 • ต้นทุนรวม = ต้นทุนในการสั่งสินค้า/ปี + ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า/ปี TC = (CO * D/Q) + (CC * Q/2)

  9. 25% ของราคาสินค้าต่อหน่วย

  10. จำนวนครั้งของการสั่งซื้อ = ปริมาณความต้องการสินค้าต่อปี / ปริมาณการสั่งซื้อ= 360 / 60 = 6 ครั้งต่อปี ต้นทุนรวม= ต้นทุนในการสั่งสินค้า/ปี + ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า/ปี = (ต้นทุนในการสั่งสินค้า/ครั้ง * จำนวนครั้งที่สั่งสินค้า) + (ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า/หน่วย/ปี * สินค้าคงคลังเฉลี่ย) = 10,000 (6) + .25 (8,000) (60 / 2) = 60,000 + 60,000 = 120,000 บาท

  11. 1. หาค่า EOQ และต้นทุนรวม • ความต้องการสินค้า 1,200 หน่วยต่อปี • ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อครั้ง 450 บาทต่อครั้ง • ราคาสินค้าต่อหน่วย 8,000 บาทต่อหน่วย • ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา 170 บาทต่อหน่วยต่อปี 5 นาที

  12. ต้นทุนสั่งซื้อ ต้นทุนเก็บรักษา

  13. 2. หาปริมาณการสั่งสินค้าที่ทำให้ต้นทุนรวมต่ำที่สุด • ความต้องการสินค้า 200 หน่วยต่อปี • ค่าใช้จ่ายในการสั่งต่อครั้ง 2,500 บาทต่อครั้ง • ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา 210 บาทต่อหน่วยต่อปี งาน10 นาทีคะ

  14. ตัวแบบ EOQ เมื่อมีการทยอยส่งสินค้า • ใช้ในกรณีที่ไม่สามารถส่งสินค้ามาได้ทั้งหมดในคราวเดียวกัน แต่จะทยอยส่งมาส่วนหนึ่งไปเรื่อยๆ จนกว่าจะครบจำนวนที่สั่งในแต่ละครั้ง • Q = 2 COD CC(1 – d/p)

  15. 3. หาปริมาณการสั่งสินค้าที่ประหยัดที่สุด และหาต้นทุนรวมกำหนดให้ 1 ปีมีวันทำงานทั้งหมด 320 วัน • ความต้องการสินค้า 10,000 หน่วยต่อปี • ค่าใช้จ่ายในการสั่งต่อครั้ง 150 บาทต่อครั้ง • ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา 1.50 บาทต่อหน่วยต่อปี • อัตราการส่งสินค้า (p) 150 หน่วยต่อวัน

More Related