540 likes | 681 Views
New Influenza A H1N1. พ.ญ.จุฑารัตน์ ไกรขจรกิตติ. ไข้หวัดใหญ่ ระบาดใหญ่ (Spanish flu) ประเทศไทย. พ.ศ. 2461 – 2462 รัชสมัยของพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. 6 ) ทั่วโลกตาย 50 ล้านคน ( 20 – 100 ล้านคน) ระบาดนาน 2 ปี ตายจากปอดบวม หนุ่มสาวเป็นรุนแรง
E N D
New Influenza AH1N1 พ.ญ.จุฑารัตน์ ไกรขจรกิตติ
ไข้หวัดใหญ่ ระบาดใหญ่ (Spanish flu) ประเทศไทย • พ.ศ. 2461 – 2462 รัชสมัยของพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.6) • ทั่วโลกตาย 50 ล้านคน (20 – 100 ล้านคน) • ระบาดนาน 2 ปี ตายจากปอดบวม หนุ่มสาวเป็นรุนแรง • คนไทยเสียชีวิต 80,263 คน (0.95% ของประชากรทั้งหมด) (3.5% ของผู้ป่วยทั้งหมด)
ไวรัสไข้หวัดใหญ่ ตระกูลOrthomyxoviridae มีไวรัสไข้หวัดใหญ่กลุ่มA, B, C ไข้หวัดนก(Bird Flu : H5N1) ไข้หวัด 2009 (Swine Flu : H1N1) H1 H16 N1 N9 ไข้หวัดนกชนิดร้ายแรงเป็นกลุ่ม A ชนิด H5, H7 ไข้หวัดใหญ่ในคนพบ H 1, 2, 3 N 1, 2
ไวรัสไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดชนิดร้ายแรง เป็นกลุ่ม A ไข้หวัดใหญ่ในคนพบ H 1, 2, 3 N 1, 2
วงจรของโรคไข้หวัดใหญ่ในคน-สัตว์วงจรของโรคไข้หวัดใหญ่ในคน-สัตว์
New Influenza A / H1N1 25 เมษายน 2552 - WHO ประกาศให้ไข้หวัดใหญ่ใน Mexico เป็นภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระหว่าง ประเทศ (PHEIC) 27 เมษายน 2552 - Pandemic Alert phase 3 4 29 เมษายน 2552 - Pandemic Alert phase 4 5 1 พฤษภาคม 2552 - “ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ เอช 1 เอ็น 1
H1N1; never found in pig and human before Occur in young adult (different from seasonal flu) Clinical features :- fever, cough, sore throat, runny nose :- more diarrhea and vomiting Sensitive to NI’s eg. Oseltamivir, Zanamivir Clinical Features H1N1 ( WHO Report; 25 April 2009 )
Laboratory Diagnosis H1N1 Rapid test result is unknown (probably low sensitivity) IFA result is unknown RT-PCR for Influenza A, new H1N1 positive Viral culture
Treatment and Care
มาตรการในการต่อสู้ “Pandemic Influenza” 1. “รู้เร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- lab. พร้อมรับมือ 2. “รักษา - ป้องกันเร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- โรงพยาบาลพร้อมรับมือ :- ยาต้านไวรัสพร้อมรักษา-ป้องกัน 3. “ควบคุมโรคเร็ว” :- Pandemic vaccine สำหรับคนทั่วไป
. Goggle or Face shield . Mask (surgical or N95) . Gown (surgical or water-proof ) . Glove
Antiviral Agents Stockpiling for Pandemic Influenza Treatment :-~ 25% of total population (20 - 40%) Prophylaxis :- additional courses for 1. public safety officers 2. HCW’s in direct contact with patients
Inpatients Isolation • isolate patient to a single room • (negative pressure if available) • 2. cohort patients separately in designated multi-bed rooms or wards • 3. bed should be placed > 1 metre with curtain or partition ( WHO interim guidelines on clinical management of humans infected by influenza A (H5N1) : 20 Feb 2004)
Dosing Recommendation for OseltamivirTreatment of Adult and Children > 1 year, ( www.cdc.gov/swine flu / recommendation. htm. April 28, 2009. )
Dosing Recommendation for Oseltamivir Treatment of Children < 1 year High risk of complication Limited data on safety and efficacy ( www.cdc.gov/swine flu / recommendation. htm. April 28, 2009. )
Dosing Recommendation for Antiviral Treatment , Zanamivir inhaler ( www.cdc.gov/swine flu / recommendation. htm. April 28, 2009. )
H5 Vaccine Strategies • 16 companies have candidate vaccines in development; > 40 clinical trials • Types: inactivated (whole and split virus), virosomal, live-attenuated • Routes: IM, intradermal, intranasal • Adjuvants for inactivated: Al(OH)3, AlPO4, MF59, ASO3 • Substrates for growth: eggs, Vero cells, MDCK cells, primary monkey cells
Vaccine production 2 month ~200-300 million? Clinical batch production and testing 1-2 month Vaccine prototype development 1-2 month Influenza pandemic vaccines • Lag between detection of pandemic strain and full scale vaccine production • Optimistic approach
สรุป :- ปัญหาของ Pandemic Vaccines 1. ยังไม่ทราบสายพันธุ์เชื้อไวรัสจนกว่าจะเริ่มระบาด 2. ขีดความสามารถในการผลิตยังต่ำมาก 3. วัคซีนต้องใช้ 2 โด๊ซเพราะไม่เคยมีภูมิคุ้มกันมาก่อน 4. ปริมาณ antigen สูงกว่าปกติ ทำให้ครอบคลุมจำนวนประชากรต่ำ 5. ความครอบคลุมคนทั่วโลก > 6000 ล้านคนเป็นไปได้ยากมาก ( WHO/IVB/06.13 : WHO/CDS/EPR/GIP/2006.1 )
ผู้ป่วยรายแรก • ผู้ป่วยชายวัยกลางคน • เป็นผู้ต้องขังโรงเรียนวิวัฒน์พลเมือง จ.ชลบุรี • ไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ และ ถ่ายเหลว • มีข้อมูลการป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มผู้ต้องขัง • เริ่มป่วย 28 มิถุนายน 2552 • เข้ารักษาโรงพยาบาลแพร่ 2 กรกฎาคม 2552 • ผลยืนยันสารพันธุกรรมของไวรัส H1N1 • เริ่มพบผู้ป่วยยืนยันเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจากผู้ที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด
จำนวนผู้ป่วยไข้หวัด 2009
การระบาดเป็นกลุ่มในโรงเรียน อ. เมือง
16 14 12 10 คน 8 ชาย หญิง 6 4 2 0 0 - 4 5 - 9 10 - 14 15 - 19 20 - 24 25 - 34 35 - 44 45 - 54 55 - 64 65
Proposed Pandemic Influenza Waves 2nd 1st 3rd 4th 1-3 1-2 1-3 1-2 1-2 1-2 start Month
Pandemic Influenza – Medical Intervention 1. Pharmaceutical Intervention : Antiviral agents - treatment, prevention : Pandemic Vaccine - most important (time consuming) 2. Non-Pharmaceutical Intervention : General advices – hand washing : Masking – surgical mask, N95 respirator : Social distancing
“การเตรียมตัวต่อสู้ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่“การเตรียมตัวต่อสู้ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ ของประชาชน” • ล้างมือ ล้างมือ ล้างมือ • มารยาทในการไอ จาม
In Vivo Protective Performance of N-95 Respirators and Surgical Facemask • Surgical mask filtered out > 95% of material • N-95 respirators filtered out 98% of material Both can provide effective protection in a relatively low viral loading environment ( Am J Ind Med 2006;49:1056.)
Mask Using in Pandemic Phase 4-6 * Re-use of mask is not recommended expert in certain situation
New Influenza A/H1N1 Virus – Prevention (1) Individual protection :- 1. Masking - surgical, home made 2. Hand washing 3. Respiratory etiquette – covering coughing & Sneezing 4. Social distancing 5. Household ventilation ( www.cdc.gov/h1n1 flu / swineflu.htm. May 1, 2009. )
New Influenza A/H1N1 Virus – Prevention Hospital Setting :- 1. Patient isolation – AIIR (if available) 2. Prioritization of antiviral agents 3. PPE according to risk of exposure 4. Patient management to reduce mortality and morbidity ( www.cdc.gov/h1n1 flu / swineflu.htm. May 1, 2009. )
หลักการดำเนินงานต่อสู้ “ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1” :- ด้านการแพทย์ 1. Early detection - ระบบการคัดกรอง 2. Early containment - รักษาผู้ป่วย (Treatment) - ป้องกันผู้สัมผัส (Prophylaxis) - สร้างภูมิคุ้มกัน (Vaccination)
ฮัดเช้ย"แค่ 1ที ทำ 150 คนติดหวัด จากหนังสือพิมพ์ซันเดย์ไทมส์ ทำการศึกษาและพบว่าแค่คนจามเพียง 1 ครั้งในรถเมล์ รถไฟใต้ดิน จะทำให้ผู้โดยสารกว่า 150 คน มีความเสี่ยงในการเป็นหวัดภายในเวลาเพียง 5 นาทีเท่านั้นยกเว้นว่าใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดปาก เนื่องจากเชื้อจะลอยไปติดตาม ราว ที่นั่ง และพื้นผิวอื่นๆ
ทำไมจึงควรใส่หน้ากากอนามัยทำไมจึงควรใส่หน้ากากอนามัย • เชื้อโรคที่เกิดจากการไอ จาม ของผู้ป่วย สามารถกระจายออกไปได้ไกลถึง 3 ฟุต ทำให้ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดมีโอกาสรับเชื้อได้ • งานวิจัยขององค์การอนามัยโลกค้นพบว่า การใส่หน้ากากอนามัยสามารถลดการแพร่กระจายของอณูเล็กๆ ที่มีเชื้อโรคปนเปื้อนได้ถึงร้อยละ 80
ประโยชน์ของหน้ากากอนามัยประโยชน์ของหน้ากากอนามัย ป้องกันโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ โดย • ป้องกันการแพร่โรคจากตัวเราไปสู่ผู้อื่น • ป้องกันการรับเชื้อโรคจากผู้อื่นสู่ตัวเรา
วิธีการใช้หน้ากากอนามัยวิธีการใช้หน้ากากอนามัย • ล้างมือให้สะอาดก่อนสวมใส่ • สวมหน้ากากให้คลุมทั้งจมูกและปาก • ปรับสายหน้ากากให้กระชับกับใบหน้า • หน้ากากจะมีสองสี เอาสีเข้มออกด้านนอก สีจางชิดจมูก • ถ้าใช้หน้ากากที่ทำด้วยกระดาษ ควรเปลี่ยนวันละครั้ง • ถ้าเป็นแบบผ้า ให้ซักด้วยผงซักฟอก และตากแดดให้แห้ง • การทิ้งหน้ากากที่ใช้แล้ว ควรใส่ถุง ทิ้งในถังให้มิดชิด
วิธีการทำหน้ากากอนามัยจากผ้าวิธีการทำหน้ากากอนามัยจากผ้า • หาเศษผ้า โดยใช้ผ้าฝ้ายหรือผ้ายืด • เลือกผ้าที่ทอตาถี่มากๆ พับทบกัน 2 – 3 ชั้น รูปสี่เหลี่ยมผื่นผ้า • เย็บมุมทับมุม ทุกด้าน แล้วทำสายคล้องใบหูให้กระชับ • ถ้าจะให้ดี หรือมีเศษโลหะบางๆตรึงให้ติดกับตัวหน้ากาก แล้วเย็บทับ อีกชั้นกับแผ่นโลหะก็จะเป็นการดี เพื่อเป็นการกระชับกับใบหน้า
ผ้าปิดจมูกปากชนิดผ้า ซักได้ ..ใช้คุ้ม
ล้างมือ ด้วยน้ำสะอาดและสบู่