430 likes | 601 Views
New Influenza A/H1N1 Virus Infection. :- Clinical Management. โดย. ร.ศ.(พิเศษ)นายแพทย์ทวี โชติพิทยสุนนท์ ผู้ทรงคุณวุฒิระดับ 11, สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 19 พฤษภาคม 2552. การเกิดไข้หวัดใหญ่ ระบาดใหญ่ (Pandemic Influenza). เมื่อ :-.
E N D
New Influenza A/H1N1 Virus Infection :- Clinical Management โดย ร.ศ.(พิเศษ)นายแพทย์ทวี โชติพิทยสุนนท์ ผู้ทรงคุณวุฒิระดับ 11, สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 19 พฤษภาคม 2552
การเกิดไข้หวัดใหญ่ ระบาดใหญ่ (Pandemic Influenza) เมื่อ :- • มีไวรัสชนิดใหม่ (คนไม่มีภูมิคุ้มกัน) • ก่อโรคในคน • แพร่กระจายจาก คน-สู่-คน ได้ง่าย • ( โลกอยู่ในระยะที่ 3/6 )
ปัจจุบัน "Pandemic Influenza" New influenza A (H1N1)
ความเป็นมาของชื่อเรียกความเป็นมาของชื่อเรียก • ไข้หวัดใหญ่หมู (สุกร) • Swine – origin Influenza Virus (S-OIV) • Swine Influenza (H1N1) • ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์เม็กซิโก “ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A/H1N1” New Influenza A (H1N1) virus
New A(H1N1) influenza were reported in 40 country,8829 cases/ 74 deaths (18 May 09)
Case Definition of New A/H1N1 Virus Infection Confirmed case :- positive for real-time RT-PCR viral culture Probable case :- Acute febrile respiratory illness who positive for Influenza A, but negative for H1 and H3 by PCR Suspected case :- Acute febrile respiratory illness with onset - Within 7 d. of close contact with confirmed case - Within 7 d. of travel to community where there are confirmed case (s) - Living in a community where there are confirmed case (s)
อาการโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1สหรัฐอเมริกา, 5 เมษายน – 5 พฤษภาคม 2552 (1) • 642 ราย จาก 41 มณรัฐ • อายุ 3 ด. – 81 ปี 40% อายุ 10-18 ปี 5% อายุ > 50 ปี • อาการแสดง :- ไข้ 94% :- ไอ 92% :- เจ็บคอ 66% :- ท้องเสีย อาเจียน 25% ( JW Pediatr and Adolescent Med, May 8, 2009. )
อาการโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1สหรัฐอเมริกา, 5 เมษายน – 5 พฤษภาคม 2552 (2) • ความรุนแรงของโรค :- 36 ราย (91% อายุ 19 ด. – 49 ปี) นอน ร.พ. :- 9 ราย เป็นไข้หวัดใหญ่ชนิดรุนแรง :- 11 ราย เป็นปอดบวมรุนแรง :- 8 ราย รักษาใน ICU :- 18 รายที่นอนใน ร.พ. หายปกติดี :- 2 ราย ตาย (1 ราย myasthenia gravis, 1 รายตั้งครรภ์) ( JW Pediatr and Adolescent Med, May 8, 2009. )
The Different of Clinical Features of New A/H1N1 from Seasonal Influenza (8 May 2009) Percentage of hospitalization is higher than typical flu season Age of hospitalized patient is different - seasonal influenza, age < 2 yr. and > 65 yr. - new A/H1N1, high among aged 30-40 yr. Death has been reported in previously healthy young adult and children (CFR 0.2%) ( MMWR. 2009; 58 (17); 453-8. )
Number and percentage of confirmed cases of novel influenza A (H1N1) virus infection, by patient age group and hospitalization status---United States and Mexico, March 1 – May 5, 2009 No of case Hospitalized Age ( MMWR 2009; 58 (17) : 453-8. )
27 28 29 30 1 2 3 4 5 6 7 8
ความรุนแรงของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1 ขึ้นกับ :- 1. การแพร่กระจายความรุนแรงของเชื้อไวรัส 2. ความแข็งแรง – อ่อนแอของประชากรในประเทศนั้น ๆ 3. ความสามารถของแต่ละประเทศในการป้องกัน-ดูแลรักษา
การเฝ้าระวังของประเทศไทยการเฝ้าระวังของประเทศไทย วัตถุประสงค์ • ค้นหาเชื้อที่เล็ดลอดเข้ามาในประเทศ • ค้นหาการแพร่เชื้อในระยะแรกเพื่อตัดวงจรการแพร่กระจาย • ค้นหาการระบาดเพื่อควบคุม กิจกรรม • คัดกรองที่ด่านการเดินทางระหว่างประเทศ • คัดกรองที่สถานพยาบาล • รายงานจำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่:
แผนภูมิที่ 3 แนวทางการคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังและรักษาไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่(pandemic influenza) ในระยะเริ่มแรก สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข (1) เฝ้าระวังในโรงพยาบาล • ป่วยด้วยอาการไข้ อาการโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบทางเดินหายใจ เช่นไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก หายใจเร็ว เหนื่อย หอบ และมี • ประวัติ ข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ • 1. อาศัยอยู่หรือเดินทางมาจากพื้นที่ที่พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1 ที่ระบาดตามที่องค์การอนามัยโลก • ประกาศ ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วย • 2. เป็นผู้สัมผัสร่วมบ้านหรือในที่ทำงานกับผู้ป่วยที่เป็นไข้หวัดใหญ่หรือปอดอักเสบ ซึ่งมีประวัติเดินทาง มาจากพื้นที่ที่พบ • ผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1 ที่ระบาดตามที่องค์การอนามัยโลกประกาศ ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วย • 3. มีประวัติสัมผัสสัตว์ปีกโดยตรง/ สัตว์ที่สงสัยว่าป่วยหรือเพิ่งตายใหม่ ๆ ภายใน 7 วันก่อนเริ่มป่วย • 4. มีการตายของสัตว์ปีกอย่างผิดปกติในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ในรอบ 14 วันก่อนวันเริ่มป่วย • เป็นผู้ป่วยด้วยอาการปอดอักเสบ ในกลุ่มบุคลากรทางสาธารณสุข หรือ เป็นผู้ป่วยปอดบวมรุนแรงหรือเสียชีวิต ที่หาสาเหตุ • ไม่ได้ • เก็บตัวอย่าง Throat swab/ Nasopharyngeal swab และเลือดเพื่อ Viral Study ส่งตรวจที่กรมวิทย์ ฯ หรือศูนย์วิทย์ฯเขต • แจ้งทีมเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา เพื่อทำการสอบสวนโรค
แผนภูมิที่ 3 แนวทางการคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังและรักษาไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่(pandemic influenza) ในระยะเริ่มแรก สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข (2) • ให้การรักษาตามแนวทางเวชปฏิบัติของโรคระบบทางเดินหายใจ • ติดตามผล PCR ทุกวันจนกว่าจะทราบผล • ให้รับการรักษาในห้องแยกเดี่ยว หรือ AIIR (ถ้ามี) • ควรปฏิบัติตามแนวทางป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล (Droplet precaution) อย่างเคร่งครัด • กรณีสงสัย H5 หรือ ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง เท่านั้น จึงจะพิจารณาให้ยาต้านไวรัส PCR Negative PCR for H5 Positive PCR positive H1, H3 or B (seasonal flu) PCR positive for New A (H1N1) • ให้ผู้ป่วยอยู่ AIIR (ถ้ามี) หรืออยู่ห้อง • แยก • ให้ยาต้านไวรัส • ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด • ย้ายออกจากห้องแยก • ให้การรักษาตาม • แนวทางปกติ • อาจพิจารณาให้ ยาต้านไวรัส กรณี • ผู้ป่วยมีอาการ • ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด ปรับปรุงครั้งที่ 3, เริ่มใช้วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 : โดยคณะทำงานด้านการรักษาพยาบาล กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข แนวทางนี้อาจเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ ให้ติดตามใน www.moph.go.th * กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ผู้ใหญ่อายุมากกว่า 65 ปี หญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ หรือผู้ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง
แผนภูมิที่ 5 แนวทางการคัดกรองเพื่อการเฝ้าระวังและรักษาโรคไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ สำหรับ คลินิกเอกชน หรือ ศูนย์บริการสาธารณสุข (1) เฝ้าระวังในคลินิกเอกชนหรือ ศูนย์บริการสาธารณสุข • ป่วยด้วยอาการไข้ อาการโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบทางเดินหายใจ เช่นไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก • หายใจเร็ว เหนื่อย หอบ และ มีประวัติ ข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ • 1. อาศัยอยู่หรือเดินทางมาจากพื้นที่ที่พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1 • ที่ระบาดตามที่องค์การอนามัยโลกประกาศ ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วย • 2. เป็นผู้สัมผัสร่วมบ้านหรือในที่ทำงานกับผู้ป่วยที่เป็นไข้หวัดใหญ่หรือปอดอักเสบ ซึ่งมี • ประวัติเดินทาง มาจากพื้นที่ที่พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1 ที่ระบาด • ตามที่องค์การอนามัยโลกประกาศ ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วย • 3. มีประวัติสัมผัสสัตว์ปีกโดยตรง/ สัตว์ที่สงสัยว่าป่วยหรือเพิ่งตายใหม่ ๆ ภายใน 7 วัน • ก่อนเริ่มป่วย • 4. มีการตายของสัตว์ปีกอย่างผิดปกติในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ในรอบ 14 วันก่อนวันเริ่มป่วย • เป็นผู้ป่วยด้วยอาการปอดอักเสบ ในกลุ่มบุคลากรทางสาธารณสุข หรือ เป็นผู้ป่วยปอด • บวมรุนแรงหรือเสียชีวิต ที่หาสาเหตุไม่ได้ • แผนกเวชระเบียน • คัดกรองประวัติผู้ป่วย
แผนภูมิที่ 5 แนวทางการคัดกรองเพื่อการเฝ้าระวังและรักษาโรคไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ สำหรับ คลินิกเอกชน หรือ ศูนย์บริการสาธารณสุข (2) ห้องตรวจแยกผู้ป่วย • แพทย์ซักประวัติ ตรวจร่างกาย หาสาเหตุไม่ได้ หาสาเหตุได้ นัดติดตามการรักษา 48 ชั่วโมง รักษาตามสาเหตุ ส่งต่อโรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลศูนย์ฯ หรือ โรงพยาบาลแม่ข่าย ที่สูงกว่า ปรับปรุงครั้งที่ 3, เริ่มใช้วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 : โดยคณะทำงานด้านการรักษาพยาบาลกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขแนวทางนี้อาจเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ ให้ติดตามใน www.moph.go.th
แผนภูมิที่ 6 แนวทางการคัดกรองเพื่อการเฝ้าระวังและรักษาโรคไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ สำหรับสถานีอนามัย หรือ PCU เฝ้าระวังในสถานีอนามัย หรือ PCU • ป่วยด้วยอาการไข้ อาการโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบทางเดินหายใจ เช่นไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก • หายใจเร็ว เหนื่อย หอบ และ มีประวัติ ข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ • 1. อาศัยอยู่หรือเดินทางมาจากพื้นที่ที่พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1 ที่ระบาด • ตามที่องค์การอนามัยโลกประกาศ ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วย • 2. เป็นผู้สัมผัสร่วมบ้านหรือในที่ทำงานกับผู้ป่วยที่เป็นไข้หวัดใหญ่หรือปอดอักเสบ ซึ่งมี • ประวัติเดินทาง มาจากพื้นที่ที่พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1 ที่ระบาด • ตามที่องค์การอนามัยโลกประกาศ ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วย • 3. มีประวัติสัมผัสสัตว์ปีกโดยตรง/ สัตว์ที่สงสัยว่าป่วยหรือเพิ่งตายใหม่ ๆ ภายใน 7 วันก่อน • เริ่มป่วย • 4. มีการตายของสัตว์ปีกอย่างผิดปกติในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ในรอบ 14 วันก่อนวันเริ่มป่วย • เป็นผู้ป่วยด้วยอาการปอดอักเสบ ในกลุ่มบุคลากรทางสาธารณสุข หรือ เป็นผู้ป่วยปอดบวม • รุนแรงหรือเสียชีวิต ที่หาสาเหตุไม่ได้ • แผนกเวชระเบียน • คัดกรองประวัติผู้ป่วย ส่งต่อโรงพยาบาลชุมชน ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 ใช้เมื่อ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2552 : โดยคณะทำงานด้านการรักษาพยาบาล กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
มาตรการในการต่อสู้ “Pandemic Influenza” 1. “รู้เร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- lab. พร้อมรับมือ 2. “รักษา - ป้องกันเร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- โรงพยาบาลพร้อมรับมือ :- ยาต้านไวรัสพร้อมรักษา-ป้องกัน 3. “ควบคุมโรคเร็ว” :- Pandemic vaccine สำหรับคนทั่วไป
. Goggle or Face shield . Mask (surgical or N95) . Gown (surgical or water- proof ) . Glove
มาตรการในการต่อสู้ “Pandemic Influenza” 1. “รู้เร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- lab. พร้อมรับมือ 2. “รักษา - ป้องกันเร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- โรงพยาบาลพร้อมรับมือ :- ยาต้านไวรัสพร้อมรักษา-ป้องกัน 3. “ควบคุมโรคเร็ว” :- Pandemic vaccine สำหรับคนทั่วไป
Antiviral drug 1. For treatment 2. For chemoprophylaxis
Recommendation for Antiviral Rx in New A/H1N1 Virus All data on antiviral effectiveness, clinical spectrum, side effect etc. are unknown Considered for CONFIRMED, PROBABLE or SUSPECTED A/H1N1 virus infection Should be initiated as soon as possible after the onset of symptoms ( WHO Report; 25 April 2009 )
Antiviral drug 1. For treatment 2. For chemoprophylaxis
Recommendation for Antiviral Chemoprophylaxis in New A/H1N1 Virus Household close contacts who are at high-risk for complication of influenza of a CONFIRMED or PROBABLE case HCW’s who were not using appropriate PPE during close contacts with an ill CONFIRMED, PROBABLE or SUSPECTED case of new A/H1N1 virus infection ( WHO Report; 25 April 2009 )
การใช้ยา Oseltamivir ในประเทศต่าง ๆ :- พค.2552 • ประเทศที่มี stockpile จะมีโอกาสใช้สูงขึ้น • ประเทศญี่ปุ่น ใช้ oseltamivir จำนวนมาก • ประเทศในยุโรป ใช้ oseltamivir จำนวนมาก • ประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้ oseltamivir จำนวนน้อย • ประเทศไทย ใช้ oseltamivir จำนวน ?? (แนวโน้มมากเกินความจำเป็น)
คำแนะนำสำหรับการใช้ยาต้านไวรัสในไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ A/H1N1 สำหรับรักษา:-สำหรับ confirmed, Probable and Suspected (seasonal flu ให้เฉพาะรายอาการรุนแรงเท่านั้น) สำหรับการป้องกัน:-บุคลากรที่สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย Confirmed, Probable ที่มิได้ใส่ PPE :-สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วย confirmed, Probable ที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรค แทรกซ้อน
มาตรการในการต่อสู้ “Pandemic Influenza” 1. “รู้เร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- lab. พร้อมรับมือ 2. “รักษา - ป้องกันเร็ว” :- แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ :- โรงพยาบาลพร้อมรับมือ :- ยาต้านไวรัสพร้อมรักษา-ป้องกัน 3. “ควบคุมโรคเร็ว” :- Pandemic vaccine สำหรับคนทั่วไป
สรุป :- ปัญหาของ Pandemic Vaccines 1. ยังไม่ทราบสายพันธุ์เชื้อไวรัสจนกว่าจะเริ่มระบาด 2. ขีดความสามารถในการผลิตยังต่ำมาก 3. วัคซีนต้องใช้ 2 โด๊ซเพราะไม่เคยมีภูมิคุ้มกันมาก่อน 4. ปริมาณ antigen สูงกว่าปกติทำให้ครอบคลุมจำนวนประชากรต่ำ 5. ความครอบคลุมคนทั่วโลก > 6000 ล้านคนเป็นไปได้ยากมาก ( WHO/IVB/06.13 : WHO/CDS/EPR/GIP/2006.1 )
Pandemic Influenza – Medical Intervention 1. Pharmaceutical Intervention : Antiviral agents - treatment, prevention : Pandemic Vaccine - most important (time consuming) 2. Non-Pharmaceutical Intervention : General advices – hand washing : Masking – surgical mask, N95 respirator : Social distancing
“การเตรียมตัวต่อสู้ ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ ของประชาชน” • ล้างมือ ล้างมือ ล้างมือ • มารยาทในการไอ จาม
ทุกครั้งที่ไอ จาม.... ฝอยละอองน้ำมูกน้ำลาย กระจายออกไปได้ไกลแค่ไหน ? ฝอยละอองเล็ก ๆ กระจายไปได้ไกลถึง 5 เมตร และลอยแขวนในอากาศ ฝอยละอองใหญ่ ๆ ไปได้ไกลถึง 1 - 2 เมตร แล้วตกลงบนพื้น Source: Tang T et al, submitted, 2005 (courtesy of Dr Li Yuguo, Hong Kong University) 22 Aug 07
หลักการดำเนินงานต่อสู้ “ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ H1N1” :- ด้านการแพทย์ 1. Early detection - ระบบการคัดกรอง 2. Early containment - รักษาผู้ป่วย (Treatment) - ป้องกันผู้สัมผัส (Prophylaxis) - สร้างภูมิคุ้มกัน (Vaccination)
Pandemic Influenza Waves 2nd 1st 3rd 4th 1-3 1-2 1-3 1-2 1-2 1-2 start Month