350 likes | 636 Views
กรอบ/แนวทางการปฏิบัติงานภายใต้ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปี 2554. สำนัก ส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อการส่งออก SMEs Export Center. กรอบเรื่องที่จะนำเสนอ. นิยาม SMEs และความสำคัญของ SMEs ต่อเศรษฐกิจไทย สถานการณ์ SMEs ไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และมาตรการส่งเสริมสนับสนุน SMEs
E N D
กรอบ/แนวทางการปฏิบัติงานภายใต้กรอบ/แนวทางการปฏิบัติงานภายใต้ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปี 2554 สำนักส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อการส่งออก SMEs Export Center
กรอบเรื่องที่จะนำเสนอกรอบเรื่องที่จะนำเสนอ • นิยาม SMEs และความสำคัญของ SMEs ต่อเศรษฐกิจไทย • สถานการณ์ SMEs ไทย • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และมาตรการส่งเสริมสนับสนุน SMEs • แผน/ยุทธศาสตร์ส่งเสริมพัฒนา SMEs ส่งออก • แนวทางการดำเนินงาน และตัวชี้วัดการทำงานของ สปก.
นิยาม SMEs และความสำคัญของ SMEs ต่อเศรษฐกิจไทย
นิยาม: มีทรัพย์สินไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ล้านบาท และ/หรือ มีจำนวนคนงาน/การจ้างงานไม่เกิน 200 คน SMEs/วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2.85 ล้านราย ภาคการค้า & บริการ ภาคการผลิต/อุตสาหกรรม ภาคการส่งออก เกษตร/เกษตรแปรรูป/รายสาขา เกษตร/เกษตรแปรรูปรายสาขา ธุรกิจค้าปลีก/ค้าส่ง/ซ่อมบำรุง 1,170,000 ราย/กิจการ 435,000 ราย/กิจการ อุตสาหกรรม/รายสาขา บริการ/ธุรกิจท่องเที่ยว/ อุตสาหกรรม/รายสาขา 52% 967,500 ราย/กิจการ 116,000 ราย/กิจการ 43% บริการ 5% 20% อื่นๆ อื่นๆ 75% อื่นๆ 580,000 กิจการ ตัวเลข อ้างอิง กรมศุลกากร 2552 2,250,000 ราย/กิจการ กรอ./สภาอุตฯ/ธกส./พค. ประมาณ 23,000 กิจการ ร้อยละ 0.81 สสว. Micro Entrepreneurs กว่า 20 ล้านราย
ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
ที่มา : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และมาตรการส่งเสริมสนับสนุน SMEs
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ SMEs ส่งออก หน่วยงานด้านนโยบาย สศช.สสว. การลงทุนในตปท. - พณ - สสว. - BOI การค้าในประเทศ พณ (คน./พค./ทป.) • ภาคการผลิต • อก. (กรมส่งเสริม • อุตสาหกรรม) • - กษ. (กรมส่งเสริมสหกรณ์) • - สวทช. / นวัตกรรม • - ก.วิทยาศาสตร์ • - OSMEP • - พลังงาน • - แรงงาน • - มท. (กรมพัฒนาชุมชน) การค้าในต่างประเทศ พณ. (สอ./คต./จร./ทป) หน่วยงานสนับสนุน กค. / ICT / BOT / SME Bank / Exim Bank / บสย. / สภาอุตสาหกรรมฯ / สภาหอการค้า / หอการค้าไทย / สมาคมฯ / สมาพันธ์ / ภาคการศึกษา
แผน/ยุทธศาสตร์พัฒนาและส่งเสริม SMEs ส่งออก
วิสัยทัศน์:“วิสาหกิจไทยสู่สากล”วิสัยทัศน์:“วิสาหกิจไทยสู่สากล”
พันธกิจ : • 1. เสริมสร้างองค์ความรู้และพัฒนาทักษะวิสาหกิจผู้ส่งออก • ยกระดับ/เพิ่มขีดความสามารถวิสาหกิจทางการตลาด/ • การค้าระหว่างประเทศ • เสริมสร้าง/เผยแพร่ภาพลักษณ์ที่ดีของวิสาหกิจไทยสู่สากล • บูรณาการ/ประสานความร่วมมือหน่วยงานเครือข่ายส่งเสริม/ • พัฒนาวิสาหกิจ
วัตถุประสงค์ : • เสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการเข้าถึงตลาดต่างประเทศของกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs • เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาโครงการร่วมกันและสร้างเครือข่ายในการส่งเสริมผลักดันธุรกิจSMEs เข้าสู่เวทีการค้าสากล • เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของภาคธุรกิจส่งออก SMEs ไทยให้เป็นที่ยอมรับทั้งทางด้านคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล • พัฒนาและเสริมสร้างขีดความสามารถในการปรับตัวทางธุรกิจของผู้ประกอบการธุรกิจส่งออก SMEs ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องต่อความเปลี่ยนแปลงของตลาด/การค้าต่างประเทศ
เป้าหมาย : • พัฒนาทักษะและเพิ่มพูนองค์ความรู้ทางด้านการตลาดการค้าระหว่างประเทศที่เหมาะสมต่อกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจส่งออก SMEs รายสาขา • ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าของกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจส่งออก SMEs • เพิ่มมูลค่าทางการค้าและการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศของกลุ่มธุรกิจส่งออก SMEs • เพิ่มโอกาสและช่องทางทางการค้าและการตลาดต่างประเทศของกลุ่มธุรกิจส่งออก SMEs ให้มีความเข็มแข็ง
กลยุทธ์ : • ถ่ายทอด//เสริมสร้าง/พัฒนาทักษะ/ให้คำปรึกษา/ความรู้ด้านการค้า/การตลาดระหว่างประเทศ/Knowledge base management & training/consulting • ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมทางการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ/Coaching & On the job training • การบริหารจัดการเชื่อมโยงประสานหน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุน/ผลักดันธุรกิจ SMEs/SMEs supporting solution center • พัฒนาและเสริมสร้างความร่วมมือหน่วยงาน/องค์กรเครือข่ายในการกำหนดมาตรการส่งเสริมพัฒนาและช่วยเหลือแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้อจำกัดต่างๆ รวมถึงอำนวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศของกลุ่มผู้ประกอบการ SMEs รายสาขา
โครงสร้างสำนักส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อการส่งออก (สปก.) ศูนย์ให้ข้อมูลและคำปรึกษา ธุรกิจระหว่างประเทศ (IBCC) กลุ่มงานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) กลุ่มงานพัฒนาผู้ประกอบการ กลุ่มงานวิเคราะห์/ อำนวยการทั่วไป ให้คำปรึกษาทั่วไป General Information (Front-desk) พัฒนา/เสริมสร้าง ความสัมพันธ์ภายใน/ภายนอก/ เครือข่าย จัดทำและกำหนดแผนงาน การพัฒนาฯและส่งเสริมฯเชื่อม โยงหน่วยงานภายใน/ภายนอก บริหารระบบและการประสาน งานงานสารบรรณ/ครุภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์/สำนักงาน วิเคราะห์และประเมินผล/ นำเสนอข้อคิดเห็น/แนวทาง การพัฒนา/ปรับปรุงระบบ การบริหารจัดการภายใน ศูนย์สอบถาม/ตอบรับ ให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ Call Center กำหนด/พัฒนาองค์ความรู้/ แนวทางการสร้างเสริมทักษะ/ ประสบการณ์ให้กับผู้ประกอบการ เป้าหมาย สนับสนุนและ อำนวยความสะดวก ในการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานภายใน ธุรกิจสัมพันธ์/ให้คำปรึกษา ภายนอก/Mobile Unit/ร่วม สนับสนุนโครงการ/กิจกรรม (SMEs Support Solution) บริหารจัดการโครงการ/กิจกรรม ติดตาม/ ประเมินผลการดำเนินงาน/ สรุปรายงาน รวมรวม/วิเคราะห์/จัดทำ การประเมินผลในภาพรวม ของ กพร./บริหารระบบ ควบคุมภายใน พัฒนา/บำรุงรักษาระบบ ฐานข้อมูล/เครือข่าย/ สนับสนุน/ร่วม/บริหารจัดการ โครงการ/กิจกรรม สนับสนุน/เชื่อมโยงข้อมูล วิเคราะห์/ประมวลผล/บันทึก ประเมินผล/สรุปรายงาน ผลการปฏิบัติงานในภาพรวม ศูนย์ประสานงานแก้ไขปัญหาอุปสรรคการค้าและการทำธุรกิจการค้าในต่างประเทศ
โครงสร้างการบริหารจัดการโครงสร้างการบริหารจัดการ สำนักส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อการส่งออก กลุ่มงานอำนวยการ ผู้อำนวยการ 1. จัดทำและบริหารระบบการประสานงานด้านสารบรรณ/เอกสาร/รับ/ส่ง/เก็บรักษา/นำเสนอ/ยืม/ทำลายฯลฯ 2. จัดทำ/บริหารระบบ/ประสานงานจัดหา/ส่งคืน/บำรุงรักษาเบิกจ่าย/อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับงานครุภัณฑ์/วัสดุ/อุปกรณ์เครื่องใช้ในสำนักงานของสำนักฯ 3.ให้การสนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติของหน่วยงานภายในของสำนักฯ 4.ดำเนินการ/ประสานงาน/เตรียมการ/สนับสนุน/ด้านการจัดประชุมในวาระต่างๆของสำนักฯและหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง 5. รวบรวม/สรุปรายงาน/จัดทำผลการปฏิบัติงานของสำนักฯ/รายเดือน/รายไตรมาสในภาพรวม 6. ติดตามประเมินผลพร้อมรายงานสรุปนำเสนอข้อคิดเห็น/แนวทางแก้ไขภายใต้กรอบการปะเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และตัวชี้วัดที่กำหนด กลุ่มงานพัฒนาผู้ประกอบการ ศูนย์ให้ข้อมูลและคำปรึกษาธุรกิจระหว่างประเทศ (IBCC) กลุ่มงานบริการลูกค้าสัมพันธ์ CRM 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้ประกอบการ 2. กำหนดเกณฑ์/พิจารณา/คัดเลือก/จัดทำ/บริหารแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/งบประมาณ/พัฒนา/ส่งเสริมผู้ประกอบการ 3. กำหนดรูปแบบ/กรอบ/ระดับ/องค์ความรู้และแนวทางการเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย/ผู้ประกอบการ 4.ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กรเครือข่ายทั้งทางด้านการบริหารจัดการองค์ความรู้และในการต่อยอดการพัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบธุรกิจSMEs 5. ประสานงาน/ติดตาม/ให้คำปรึกษา/สนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs 6. ประเมินผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม/รายงานสรุปพร้อมข้อเสนอแนะ//แนวทางแก้ไขภายใต้กรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และตัวชี้วัดที่กำหนด 1. พัฒนา/ปรับปรุง/ออกแบบ/บริหารระบบข้อมูลเชิงปฏิบัติการของศูนย์ฯในส่วนให้บริการทั้งจากระบบเชื่อมต่อฐานข้อมูลส่วนกลางและของศูนย์ฯและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. จัดทำ/บริหาร/กำกับดูแลระบบการสื่อสารอิเล็คทรอนิคส์ในการเชื่อมต่อและเชื่อมโยงการประสานงาน/สนับสนุนกลุ่มเป้าหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. จัดทำ/บริหารกำกับดูแล/บำรุงรักษาระบบช่องทางการสื่อสารและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 4. ศึกษา/วิเคราะห์/จัดทำข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน/ภายนอกเพื่อบันทึกเข้าฐานข้อมูลแหล่งอ้างอิงของสำนักฯ 5.ให้บริการข้อมูล/คำปรึกษา/ประสานความร่วมมือ/อำนวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการและนักธุรกิจทั่วไปทั้งณ.ที่ตั้งและภายนอกสถานที่ 6. ติดตามประเมินผลพร้อมรายงานสรุปนำเสนอข้อคิดเห็น/แนวทางแก้ไขภายใต้กรอบการปะเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และตัวชี้วัดที่กำหนด ศูนย์ประสานงานแก้ไขอุปสรรคการค้าและการทำธุรกิจระหว่างประเทศ 1. พัฒนา/เสริมสร้าง/ประสานเชื่อมโยงความสัมพันธ์องค์กรภายใน/ภายนอก 2.บริหารระบบการประสานความร่วมมือและเชื่อมโยงในการสนับสนุนการปฏิบัติงานภายใต้แผนงาน/โครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบการ 3. เป็นแกนกลางอำนวยความสะดวกบริหารระบบเครือข่ายช่องทางการติดต่อประสานงานของผู้ประกอบการกับหน่วยงานอื่นๆ 4. นำเสนอ/จัดทำสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการกิจกรรมและกรอบความร่วมมือต่างๆ 5. พัฒนา/เชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลเครือข่าย/พันธมิตรและผู้ประกอบการในการดำเนินงานและสนับสนุนหน่วยอื่นๆที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน/ภายนอก 6. ติดตามประเมินผลพร้อมรายงานสรุปนำเสนอข้อคิดเห็น/แนวทางแก้ไขภายใต้กรอบการปะเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และตัวชี้วัดกำหนด 1. รับเรื่องปัญหา/ข้อพิพาท/ข้อร้องเรียน/ข้อโต้แย้ง/ฯลฯทางการค้าและการทำธุรกิจในต่างประเทศ 2. ศึกษา/วิเคราะห์/เทียบเคียง/เปรียบเทียบ/ของสาเหตุ/มูลเหตุ/เบื้องต้น/จัดทำสรุป 3. ประสาน/ส่งต่อข้อสรุป/สาระสำคัญเบื้องต้นให้ผู้เกี่ยวข้องพร้อมสอบถาม/ประมาณการกรอบระยะเวลาในการติดตามผล 4. รายงาน/ตอบกลับผู้ร้อง/เจ้าของเรื่องในเบื้องต้น 5. ติดตามความคืบหน้า/สรุป/จัดทำรายงานแจ้งผู้เกี่ยวข้อง 6. ประเมินผล/รายงาน/เสนอแนะ
กระบวนการต่อยอดส่งเสริม/พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs เพื่อการส่งออก SMEsจากหน่วยงาน พันธมิตร อาทิ สสว. พค • ผลลัพธ์ • ผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs ที่มีศักยภาพในการดำเนินธุรกิจส่งออกและการค้าระหว่างประเทศ • ขึ้นทะเบียนและบันทึกปรับสถานะเข้าเป็นสมาชิก EL ของกรมฯ • เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมหลัก และได้รับสิทธิประโยชน์ในด้านต่างๆ ตามที่กรมฯ กำหนด Market New Export SMEs Knowledge Building Pre-EL (อบรมให้ความรู้) SMEs ทั่วไป Skill DEP SMEs Club Investment Development Expansion Overseas (พัฒนาทักษะส่งออก) สปก. Integrated Activity – Based SMEs DevelopmentApproach สอค./สสม. สปส./สพต./สกส./สสค. สพต. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกรมฯ ศูนย์สารสนเทศ / โลจิสติกส์การค้าระหว่างประเทศ
โครงการ DEP SMEs Club การสร้างเครือข่ายกลุ่มผู้ประกอบการ SMEs รายใหม่ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งออก ให้มีช่องทางในการพบปะหารือ แลกเปลี่ยนข้อมูลและข้อคิดเห็น การรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการเพิ่มขีดความสามารถในด้านการบริหารจัดการ การเข้าถึงบริการการส่งเสริมของภาครัฐ และความรู้ด้านการส่งออก ทั้งของกรมฯ และหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตร ตลอดจนการเข้าถึงโอกาสในเรื่องสิทธิประโยชน์ต่างๆ เช่น สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี และแหล่งเงินทุนต่างๆ เป็นต้น
หลักการและเหตุผลการตั้ง DEPSMEsClub 1. กลุ่ม Pre-EL ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการ SMEs รายใหม่ ที่มีความสนใจทำธุรกิจส่งออก หรือเริ่มต้นทำธุรกิจส่งออก ยังขาดการสนับสนุนอย่าง จริงจัง ทำให้ไม่สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการส่งออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. กลุ่มผู้ประกอบการ SMEs ของหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตร เมื่อได้รับการพัฒนาจนมีศักยภาพและความพร้อมที่จะขยายตลาดสู่ต่างประเทศแล้ว ขาดการเชื่อมโยง และสอดประสานส่งต่อให้กับหน่วยงานที่มีหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 3. การพัฒนาที่ผ่านมาเป็นแบบต่างคนต่างทำ ไม่สะท้อนถึงความต้องการของผู้ประกอบการอย่างแท้จริง ฉะนั้น การบูรณการร่วมกันจะทำให้การดำเนินงานเกิดประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และประหยัดงบประมาณ
กลุ่มสมาชิกเป้าหมาย 1. กลุ่ม Pre-EL ของกรมฯ เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มี ความสนใจทำธุรกิจส่งออก หรือเริ่มต้นทำการส่งออก แต่ยังขาดทักษะบาง ประการ และต้องการพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างความแข็งแกร่ง หรือเตรียม ความพร้อมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถให้ส่งออกได้ 2. กลุ่มผู้ประกอบการ SMEs ของหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตรที่มีความสนใจ ทำธุรกิจส่งออก เช่น กลุ่มผู้ประกอบการของ สสว. กลุ่มผู้ประกอบการของ พค. กลุ่ม OTOP สู่ SMEs กลุ่มสมาชิกสภาอุตสาหกรรมฯ สมาชิกหอการค้าฯ และสมาชิกสมาคมการค้าต่างๆ เป็นต้น
วิธีการดำเนินงาน 1. จัดทำฐานข้อมูลสมาชิก DEP SMEs Club 2. รับสมัครสมาชิกทาง online ส่งใบสมัครให้สมาชิก และรับสมาชิก ตรงในงานแสดงสินค้าต่างๆ เช่น งานแสดงสินค้า OTOP City งานแสดงสินค้า THAIFEX-World of Asia และงานโครงการต่างๆ ที่ร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตร 3. ตรวจสอบคุณสมบัติและแจ้งการรับเป็นสมาชิก 4. แบ่งกลุ่มตามประเภทสินค้า ขนาดของกิจการ และความต้องการ/ ศักยภาพส่งออก 5. จัดกิจกรรมที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ 6. ติดตามและประเมินผลเป็นระยะ 7. ผู้ประกอบการ SMEs ที่มีศักยภาพและความพร้อม จะได้รับการ สนับสนุนให้เป็นสมาชิก EL ต่อไป
หลักเกณฑ์ในการคัดเลือก (คุณสมบัติ) 1. เป็นผู้ประกอบการ SMEs ที่มีจำนวนสินทรัพย์รวมไม่เกิน 200 ล้านบาท และ จำนวนการจ้างงานไม่เกิน 200 คน 2. ต้องเป็นผู้ประกอบการค้า/การผลิต หรือการบริการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการส่งออก 3. ต้องเป็นองค์กรธุรกิจที่เป็นนิติบุคคล ในรูปของห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด 4. ต้องดำเนินกิจการ ไม่น้อยกว่า 2 ปี และมีภาพลักษณ์ของกิจการที่ดี ไม่มีประวัติ/ พฤติกรรมเสียหาย ในการประกอบธุรกิจ เช่น ไม่มีพฤติกรรมการละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญาหรือไม่มีเจตนาลอกเลียนแบบสินค้าและตราสินค้า (Brand) ของผู้อื่น 5. ต้องเป็นบริษัทไทย ที่มีสัดส่วนผู้ถือหุ้นที่มีสัญชาติไทย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 51 ขึ้นไป และผู้บริหารหลักของกิจการต้องเป็นผู้มีสัญชาติไทย และไม่เข้าข่ายกิจการ Nominee 6. ควรเป็นสมาชิกสมาคมการค้าฯ หอการค้า สภาหอการค้าฯ หรือสภา อุตสาหกรรมฯ หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง 7. สถานภาพของสมาชิก มีอายุ 3 ปี
สิทธิประโยชน์ • สมาชิกจะได้รับสิทธิ์ให้เข้าร่วมงานสัมมนา อบรม ระยะสั้น (1-2 วัน) ที่สถาบันฝึกอบรมการค้าระหว่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออกจัดขึ้น โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย จำนวน 3 ครั้ง ต่อปี และได้รับการลดหย่อนค่าใช้จ่ายสมทบ50 % ในการสมัครเข้าอบรม/สัมมนา จำนวน 3 ครั้งต่อปี ทั้งนี้ สงวนสิทธิ์ให้บริษัทละ 1 ท่าน/กิจกรรม เท่านั้น และจำกัดจำนวนสมาชิกในการเข้าร่วมอบรม/สัมมนาในแต่ละโครงการฯ โดยกรมฯ จะเป็นผู้คัดเลือกจากสมาชิกที่แสดงความประสงค์เข้าร่วมการอบรมสัมมนาตามลำดับก่อน-หลังและความเหมาะสมตามองค์ประกอบพื้นฐานความต้องการของประเภทธุรกิจที่แจ้งไว้ • สมาชิกจะได้รับแจ้งข้อมูล ข่าวสาร กิจกรรมต่างๆ ที่กรมส่งเสริมการส่งออก และหน่วยงานพันธมิตรจัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง • สมาชิกจะได้รับการลดหย่อนค่าใช้จ่ายสมทบเข้าร่วมกิจกรรม 50 % ในการสมัครเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการตลาด อาทิ งานแสดงสินค้าทั้งใน และต่างประเทศที่กรมฯ จัดขึ้น จำนวนไม่เกิน 5 ครั้ง/กิจกรรม ภายใน 3 ปีทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเข้าร่วมกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งเกินกว่า 2 ครั้ง กรมฯ ขอสงวนสิทธิ์การพิจารณาจากสมาชิกที่ยื่นความประสงค์ตามลำดับก่อน-หลัง และในกรณีเข้าร่วมงาน Thailand SME Exhibition สมาชิกมีสิทธิ์ได้รับยกเว้นค่าเข้าร่วมงาน จำนวน ไม่เกิน 2 ครั้ง/ปี ติดต่อกันไม่เกิน 2 ปี
4. สมาชิกจะได้รับสิทธิ์ในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเดินทางบางส่วนทั้งใน และ ต่างประเทศ เพื่อเข้าร่วมโครงการศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้อง อันเป็นประโยชน์ต่อ ธุรกิจ SMEs ซึ่งจัดหรือสนับสนุนการจัดงานโดยหน่วยงานของรัฐ และได้รับ ความเห็นชอบจากกรมฯ โดยกำหนดสิทธิ์ให้บริษัทละ 1 ท่าน จำนวน 2 ครั้ง ต่อปี และติดต่อกันไม่เกิน 3 ปี ซึ่งกรมฯ จะพิจารณาตามคุณสมบัติผู้สมัครที่ เหมาะสมจากข้อมูลและเอกสารที่ยื่นต่อกรมฯไว้ ต่อกิจกรรมนั้นๆ เป็นกรณีไป 5. สมาชิกจะได้รับการสนับสนุนในการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมธุรกิจและโอกาส ของการขยายตลาดของกรมส่งเสริมการส่งออก อาทิ การจัด Business Matching 6. สมาชิกจะได้รับสิทธิพิเศษในการนัดหมายล่วงหน้าเพื่อขอรับคำปรึกษาจากผู้ ทรงวุฒิ ด้านการตลาด การเงิน การสร้างตราสินค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใน กรณีที่กรมฯ จัดโครงการ SMEs Consulting Clinic ขึ้นมา ทั้งนี้ สงวนสิทธิ์ให้ บริษัทละไม่เกิน 20 นาที จำนวน 1 ครั้ง เท่านั้น และจำกัดจำนวนสมาชิกในการ ขอรับคำปรึกษา โดยกรมฯ จะเป็นผู้คัดเลือกจากสมาชิกที่ยื่นความประสงค์ ตามลำดับก่อน-หลัง 7. สิทธิที่จะได้รับจากหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตรเป็นกรณีๆ
โครงการ/แผนงาน/กิจกรรมปีงบประมาณ 2554 ของ สปก. โครงการ 1. พัฒนาขีดความสามารถส่งออก 2. พัฒนาระบบฐานข้อมูล 3. หน่วยเคลื่อนที่ให้คำปรึกษา โครงการ 4.ขยายช่องทางตลาดส่งออก 5. โครงการพัฒนา/แสวงหาช่องทาง การตลาดรูปแบบใหม่ • ผลลัพธ์ • ผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs ที่มีศักยภาพในการดำเนินธุรกิจส่งออกและการค้าระหว่างประเทศ • ขึ้นทะเบียนและบันทึกปรับสถานะเข้าเป็นสมาชิก EL ของกรมฯ • เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมหลัก และได้รับสิทธิประโยชน์ในด้านต่างๆ ตามที่กรมฯ กำหนด SMEsจากหน่วยงาน Knowledge Building พันธมิตร อาทิ สสว. พค New Export SMEs (อบรมให้ความรู้) Pre-EL Skill SMEs ทั่วไป Market Investment Development DEP SMEs Club Expansion Overseas (พัฒนาทักษะส่งออก) สปก. Integrated Activity – Based SMEs DevelopmentApproach โครงการ 6. กิจกรรมเครือข่ายสัมพันธ์ SMEs Club 7. จัดทำ/พัฒนาเว็บไซต์ 8. แลกเปลี่ยน/ถ่ายทอดความรู้เฉพาะด้านร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรให้กับ SMEs 9. พัฒนาระบบ Call Center 10. เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของบุคลากรภายในสำนักฯ
โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการส่งออก SMEs ทั้งในส่วนกลาง/ภูมิภาค • Module I : • Knowledge Building • Trade Environment • กระบวนการส่งออก • เทคนิคการเจรจาการค้าระหว่าง • ประเทศรายตลาด และธรรมเนียมน่ารู้ • การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ • กลยุทธ์ในด้านสินค้า ราคา • และการสร้างแบรนด์ • Module II : • อบรมเชิงปฏิบัติการและเสริม • ทักษะส่งออกจริงในลักษณะ • On the Job Training • ผลลัพธ์ • SMEs เข้าฝึกอบรมสัมมนา 30 บริษัท/ภูมิภาค • ร้อยละ 60 ของSMEs ที่เข้ารับการอบรม พึงพอใจเนื้อหาฝึกอบรม • ร้อยละ 60 ของ SMEs พัฒนาให้เกิดการส่งออกได้ • ร้อยละ 20 ของSMEs นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้จริง เกิดผลสำเร็จในธุรกิจ นับจากการฝึกอบรม เป็นเวลา 2 ปี กลุ่มเป้าหมาย SMEs ที่ยังไม่มี ประสบการณ์ ส่งออกรายใหม่ ที่เป็นสมาชิก DEP SMEs Club กทม. ภูมิภาค
โครงการขยายช่องทางตลาดส่งออกให้กับ SMEs(Thailand SMEs Road Show) กลุ่มเป้าหมาย SMEs ที่มี ประสบการณ์ ส่งออกบ้างแล้ว ที่เป็นสมาชิก DEP SMEs Club • Specific Market • Training • Market Uncertainty • Regional and Global • Business Environment • Cultural Environment • International Market • Research • Develop Market • Strategies • Product Portfolio • management • Pricing International • ผลลัพธ์ • การส่งออกสินค้าเป้าหมายไปยังตลาดเป้าหมายขยายตัวเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 • จำนวนผู้ประกอบการต่างประเทศที่ผู้ประกอบการส่งออก SMEs ได้พบหารือเจรจาการค้า และสร้างเครือข่าย • จำนวนผู้ประกอบการส่งออก SMEsไทยที่ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการตลาดต่างประเทศ • จำนวนผู้ประกอบการต่างประเทศที่เข้าเยี่ยมชมกิจกรรม Thailand SMEs Road Show • ร้อยละ 80 ของSMEs มีความรู้ความเข้าใจสามารถพัฒนาให้เกิดการส่งออกได้อย่างแท้จริง SMEs Road Show กลุ่มสินค้าเป้าหมาย SMEs Pavilion ร่วมแสดงสินค้าในต่างประเทศที่คัดเลือกแล้ว • ตลาดเป้าหมาย • ASEAN+6 • ตะวันออกกลาง • ยุโรปตะวันออก • แอฟริกา สินค้าเป้าหมาย อาหาร / แฟชั่น / ไลฟ์สไตล์ / ชิ้นส่วนยานยนต์-จักรยานยนต์/ จักรกลการเกษตร
แนวทางการดำเนินงาน และตัวชี้วัดการทำงานของ สปก.
ตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สำนักส่งเสริมผู้ประกอบการเพื่อการส่งออก ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลักของกรมฯ (ร้อยละ 10) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลักของสำนักฯ 1. ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมและพัฒนาสมาชิกเครือข่ายการส่งเสริมการส่งออก ระดับที่ 1 มีจำนวนสมาชิกฯ รายใหม่ 50 ราย(ตอบรับ/ยื่นใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกฯ ใน/ร่วมโครงการ/ส่งเสริมพัฒนาผู้ประกอบการ) ระดับที่ 2 มีจำนวนสมาชิกฯ รายใหม่ 80ราย (ตอบรับ/ยื่นใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกฯ ใน/ร่วมโครงการ/ส่งเสริมพัฒนาผู้ประกอบการ) ระดับที่ 3 ดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม/พัฒนาผู้ประกอบการเพื่อการส่งออกได้แล้วเสร็จ ระดับที่ 4มีสมาชิกรายใหม่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมไม่น้อยกว่า 70% (ของ ระดับที่ 2) ระดับที่ 5 จัดเก็บ/บันทึกข้อมูลการส่งออกของสมาชิกฯและสัดส่วนการส่งออกของสมาชิกเทียบกับธุรกิจส่งออกทั้งหมด 2. ร้อยละของผู้ประกอบการไทยที่ได้รับการพัฒนาด้านธุรกิจส่งออกมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ค่าเป้าหมายปี 2554 ร้อยละ 75/85 เกณฑ์การให้คะแนน 1=65, 2 = 70, 3 = 75, 4 = 80, 5 = 85 (การตั้งเป้าหมายของความรู้ = ระดับองค์ความรู้/ทักษะ ของการพัฒนาจำแนกตามกลุ่มผู้ประกอบการ/ที่กำหนดไว้ในคู่มือ) (การประเมินผล = กำหนดแบบประเมินผลในแต่ละกิจกรรมจำแนกตามประเภทอาทิ กลุ่ม/ระดับองค์ความรู้ กลุ่ม/ระดับทักษะ) (ก่อนการดำเนินงาน =ความจำนงความประสงค์ของผู้ประกอบการ/ใบสมัครเป็นสมาชิกฯ หรือ แบบสอบถามแจ้งเวียนเชิญชวน) (หลังการดำเนินงาน = สรุปผลการประเมินตามแบบประเมินผลในแต่ละกิจกรรมจำแนกตามประเภท)
ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลักของสำนักฯระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลักของสำนักฯ 3. จำนวนผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาและมีศักยภาพในการประกอบธุรกิจส่งออกโดย การปรับสถานะจากสมาชิกฯใหม่/Pre-EL เป็น EL ค่าเป้าหมาย 10 ราย เกณฑ์การให้คะแนน 1 = 6 ราย2 = 7 ราย3 = 8 ราย4 = 9 ราย5 = 10 ราย 4.สร้างและพัฒนาความสัมพันธ์หน่วยงานเครือข่าย/พันธมิตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผู้ประกอบการ/SMEs ค่าเป้าหมาย 15กิจกรรม/ครั้ง 4.1 จำนวน/ปริมาณรายงานสรุปผลการจัด/ดำเนินโครงการ/กิจกรรม/ประชุมหารือ/สัมมนาเชิงปฏิบัติการ/กับหน่วยงาน/ องค์กร/เครือข่าย/พันธมิตร/อื่นๆ ภายใต้วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาผู้ประกอบการให้มีความ พร้อมและขีดความสามารถในการเข้าสู่ระบบการค้าระหว่างประเทศ 4.2จำนวนข่าวสาร/ข้อมูลที่จัดส่ง/นำเสนอต่อหน่วยงาน/องค์กร/เครือข่าย/พันธมิตร/อื่นๆ เกณฑ์การให้คะแนน 1 = 11 กิจกรรม/ครั้ง2 = 12 กิจกรรม/ครั้ง3 = 13 กิจกรรม/ครั้ง4 = 14 กิจกรรม/ครั้ง5 = 15 กิจกรรม/ครั้ง
ข้อพิจารณาปรับปรุง/ทบทวนการดำเนินโครงการ/กิจกรรมข้อพิจารณาปรับปรุง/ทบทวนการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ความเชื่อมโยงของกิจกรรมของโครงการที่ดำเนินงาน อาทิ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ ควรจะประกอบไปด้วยกิจกรรมที่มีความเชื่อมโยงและ สอดคล้องกับกิจกรรมในโครงการอื่นๆ ตัวอย่างกรอบแนวคิด กิจกรรมการฝึกอบรมความรู้ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์/สินค้า + กิจกรรมเยี่ยมชม/ศึกษางานขององค์กร/ การออกแบบผลิตภัณฑ์/สินค้า/หีบห่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/เนื้อหา/ความรู้ การควบคุม/ลดต้นทุนการผลิต/การตั้งราคาสินค้า เทคโนโลยี/นวัติกรรม/การผลิต/ออกแบบ เอกสารการเงิน/การธนาคาร/การค้าระหว่างประเทศ สถาบันการเงิน/ธ,SMEs/ธ.EXIM โลจิสติกส์/เอกสารการส่งออก กฎ/ระเบียบ/ความ/ข้อตกลงทางการค้า/อื่นๆ ผลที่คาดหวัง “การบูรณาการการดำเนินการร่วมกันภายใต้รูปแบบ Team Work System” 1. ไม่สร้างความเบื่อหน่ายให้กับผู้ประกอบการ 2. ใช้เวลาในการแสวงหาองค์ความรู้/ทักษะ/ประสบการณ์ไม่มาก 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารเวลา/ทรัพยากร4.พัฒนา/เพิ่มค่าสมรรถนะ(competency)ให้สูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบต้นทุน เหตุผล 1. ผู้ประกอบการ/เจ้าของกิจการส่วนใหญ่มักไม่สามารถละทิ้งธุรกิจของตนเองได้เป็นเวลานาน (เกินกว่า 3 วันหรือน้อยกว่านั้น) 2. ผลผลิต/ปริมาณผู้ประกอบการที่เข้าร่วมเพิ่มสูงขึ้นภายใต้กรอบระยะเวลาดำเนินงานที่ต่ำลงด้วยต้นทุนที่ลดลง 3. สามารถบูรณาการกิจกรรม/เชื่อมโยงการดำเนินงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้กลุ่มเป้าหมายเดียวกัน/ต่างกลุ่มกัน