1 / 27

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ( Key Performance Indicators)

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ( Key Performance Indicators). ประเมินสถานภาพ. 3. การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์. 1. การวางแผนกลยุทธ์. การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย. ผลงาน/ผลสัมฤทธิ์ Results Performance. Feedback. SWOT Analysis. ประเมินผล. สภาพแวดล้อมภายใน

shelby
Download Presentation

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ( Key Performance Indicators)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวชี้วัดความสำเร็จ (Key Performance Indicators)

  2. ประเมินสถานภาพ 3. การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ 1. การวางแผนกลยุทธ์ การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลงาน/ผลสัมฤทธิ์ Results Performance Feedback SWOT Analysis ประเมินผล สภาพแวดล้อมภายใน จุดแข็ง จุดอ่อน (Strength – Weakness) สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส อุปสรรค (Opportunity – Threat) • แผนที่กลยุทธ์ • ประสิทธิผล • คุณภาพ • ประสิทธิภาพ • พัฒนาองค์กร BSC/KPI หน่วยงาน /รายบุคคล ปัจจัยจาก STEP หรือ C-PEST ปัจจัยจาก 2S4M หรือ 7 S แผนปฏิบัติการ ประจำปี( 1 ปี) MTEF Medium Term Expenditure Framework (แผนระยะ 3 ปี) • ประเด็นกลยุทธ์ • เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ • ตัวชี้วัดความสำเร็จ • ค่าเป้าหมายรายปี • กลยุทธ์ • โครงการ/กิจกรรม • งบประมาณ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์หลัก ปรับกระบวนการปฏิบัติงาน Star Question Mark Cash Cow Dog 2. การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ แบบประเพณีนิยม (Conventional Method) จัดทำโครงการ แบบเหตุผลสัมพันธ์ (Logical Framework)

  3. การนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติการนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ การนำไปปฏิบัติดี การนำไปปฏิบัติไม่ดี สำเร็จ Success เพ้อเจ้อ Sweet Dream กลยุทธ์ดี เสี่ยงดวง Gambling ล้มเหลว Failure กลยุทธ์ไม่ดี

  4. If you can’t measure , you can’t manage. If you can’t measure , you can’t improve. What get measure , gets done.

  5. Region or Geographical Area = พื้นที่ Specific Sector = สาขาการพัฒนา Impact/Policy Indicator ตัวชี้วัดนโยบายและผลกระทบ 5 OutcomeIndicator ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4 3 Output Indicator ตัวชี้วัดผลผลิตจากกระบวนการ 2 Process Indicator ตัวชี้วัดกระบวนการ 2 1 Input Indicator ตัวชี้วัดปัจจัยนำเข้ากระบวนการ

  6. ความเชื่อมโยง ระดับ ความเชื่อมโยงสาระสำคัญ ความเชื่อมโยงการวัดผล นโยบายของชาติ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐธรรมนูญ / ยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ของรัฐบาล ตัวชี้วัดความสำเร็จตามนโยบายของชาติ : 2Q2T1P นโยบายของกระทรวง ยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ของกระทรวง ตัวชี้วัดความสำเร็จตามนโยบายของกระทรวง : 2Q2T1P ผลลัพธ์ของหน่วยงาน กลยุทธ์ของหน่วยงานและผลประโยชน์ ต่อกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัดความสำเร็จของหน่วยงาน : 2Q2T1P ผลผลิตของหน่วยงาน ผลผลิตภายใต้กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลผลิต : QQCT กิจกรรมของผลผลิต กิจกรรมภายใต้ผลผลิต ปริมาณงาน ทรัพยากรของกิจกรรม ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม จำนวนเงินต่อหน่วย

  7. ขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัดขั้นตอนการกำหนดตัวชี้วัด 1. กำหนดระดับของตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมนำส่งผลผลิต (CBF) 2. กำหนดประเด็นตัวชี้วัด 3. กำหนดตัวชี้วัดรูปธรรม (2Q2T1P/ QQCT) 4. ตรวจสอบคุณสมบัติของตัวชี้วัด (VARS) • ความสมเหตุสมผล • ความมีอยู่ของข้อมูล • ความเชื่อถือได้ของข้อมูล • ความเคลื่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลง 5. กำหนดค่าของตัวชี้วัด (เช่น ร้อยละ xx) 6. กำหนดเกณฑ์ของตัวชี้วัด (เช่น ร้อยละ 80)

  8. ขั้นตอนการจัดทำตัวชี้วัดผลงานขั้นตอนการจัดทำตัวชี้วัดผลงาน ขั้นตอนที่ 1 : ตัวชี้วัดมีลำดับชั้นตามโครงสร้างยุทธศาสตร์ ระดับยุทธศาสตร์ของรัฐบาล Impact indicator ระดับยุทธศาสตร์กระทรวง Impact indicator ระดับกลยุทธ์ระดับกรม Outcome indicator ระดับกิจกรรม Output indicator

  9. เทคนิค ทิศทาง - นามธรรม Impact indicator ขยาย , พัฒนา , ปรับปรุง Outcome indicator แนวทางตอบสนองยุทธศาสตร์ ส่งเสริม ,สนับสนุน,สร้างเสริม Output indicator กิจกรรมหลักนำส่งผลผลิต – รูปธรรม ฝึกอบรม , กำหนดมาตรฐานการให้บริการ, ก่อสร้าง ,

  10. ขั้นตอนการจัดทำตัวชี้วัดผลงานขั้นตอนการจัดทำตัวชี้วัดผลงาน ขั้นตอนที่ 2 : กำหนดประเด็นของตัวชี้วัดก่อนเขียนตัวชี้วัด ระดับชาติ ความสำเร็จต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม ระดับกระทรวง ความสำเร็จต่อผลประโยชน์กลุ่มเป้าหมาย ระดับกรม ความสำเร็จต่อกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการเฉพาะ ระดับกิจกรรม ความสำเร็จจากการจัดทำกิจกรรม

  11. เทคนิค 1.ทำความเข้าใจ แล้วตั้งคำถาม –ทำอย่างไร –ทำไปทำไม – ใครได้ผลประโยชน์ -ผลประโยชน์ลักษณะใด 2. ระดับความเป็นนามธรรม - รูปธรรมต่างกันตามระดับ -นามธรรมควรมีหลายตัวชี้วัดจึงจะสามารถได้ครอบคลุม 3. ประโยคกิจกรรมมีความเป็นรูปธรรมแล้ว นำไปจัดทำแผนปฏิบัติการ

  12. ขั้นตอนที่ 3 : กำหนดตัวชี้วัดด้วยสูตร 1. ระดับยุทธศาสตร์ชาติ /กระทรวง /กรมตัวชี้วัดที่พิสูจน์ได้เชิงรูปธรรมระดับผลลัพธ์ (2Q2T1P) Quantity = ปริมาณ Quality = คุณลักษณะ Time = เวลา Target group = กลุ่มเป้าหมาย Place = สถานที่

  13. 2. ระดับผลผลิต ตัวชี้วัดที่พิสูจน์ได้เชิงรูปธรรมระดับผลผลิต (QQCT) Quantity = ปริมาณ Quality = คุณลักษณะ Cost = ต้นทุน Time = เวลา

  14. แนวทางการกำหนด • Quantity = ปริมาณ ระบุจำนวน ชิ้นงาน 1.จำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) 2.จำนวนนักเรียนระดับประถมศึกษา 3.จำนวนนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา

  15. แนวทางการกำหนด • Quality = คุณลักษณะ ระบุมาตรฐาน 1.ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจใน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. ร้อยละของนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  16. แนวทางการกำหนด • Cost = ต้นทุน ระบุต้นทุนของผลิตภัณฑ์หรือบริการ 1.ค่าใช้จ่ายสำหรับจัดการศึกษานักเรียนของรัฐสังกัด สพป.ลบ. 1 ต่อนักเรียน 1 คน 2.งบบุคลากรของครูสังกัด สพป.ลบ. 1 ปีงบประมาณ 2556 ต่อครู 1 คน

  17. แนวทางการกำหนด • Time = เวลา ระบุความรวดเร็ว /ระยะเวลาในการส่งมอบ 1.ร้อยละของนักเรียนก่อนประถมศึกษาที่จบการศึกษาตามกำหนดเวลาของหลักสูตร 2. ร้อยละของนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับตามกำหนดเวลาของหลักสูตร

  18. คุณสมบัติที่ดีของตัวชี้วัดคุณสมบัติที่ดีของตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 4 : ตรวจสอบคุณสมบัติของตัวชี้วัดด้วยสูตร • Validity = สมเหตุสมผลที่จะอธิบายได้ • Availability = ความมีอยู่ของข้อมูล • Reliability= ความเชื่อถือได้ • Sensitivity = ความเคลื่อนไหวได้จากความไวต่อการเปลี่ยนแปลง

  19. ค่าของตัวชี้วัด แสดงเป็นตัวเลข 6 ลักษณะ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 5 : การกำหนดค่าของตัวชี้วัด • จำนวน (Number) • สัดส่วน (Proportion) • อัตราส่วน (Ratio) • อัตรา (Rate) • ร้อยละ (Percentage) • ค่าเฉลี่ย (Mean)

  20. จำนวนนักเรียนภาคบังคับทั้งหมด สัดส่วนผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชีวศึกษา : สามัญศึกษา อัตราส่วนครูต่อนักเรียน อัตราการออกกลางคัน ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายงบลงทุน ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน5 วิชาหลักสูงขึ้น

  21. เกณฑ์ของตัวชี้วัด 4 แบบ ขั้นตอนที่ 6 : การกำหนดเกณฑ์ของตัวชี้วัด • การเปรียบเทียบเกณฑ์สัมบูรณ์ (สามารถทำได้สมบูรณ์ “ครบถ้วน”) • การเปรียบเทียบเกณฑ์มาตรฐานเชิงวิทยาศาสตร์ (สามารถทำได้ใกล้เคียงค่ามาตรฐานกลาง “สูงกว่า เท่ากับ ต่ำกว่าค่ามาตรฐานกลาง”) • การเปรียบเทียบเกณฑ์มาตรฐานเชิงนโยบาย (สามารถทำได้ใกล้เคียงปริมาณความต้องการที่กำหนดโดยนโยบายของรัฐบาลหรือแผนของกระทรวง“สูงกว่าแผน เท่ากับแผน ต่ำกว่าแผน”) • การเปรียบเทียบการเคลื่อนไหวเชิงพัฒนา (สามารถทำได้ดีขึ้นกว่าเดิม “จาก.……… เป็น ……… คิดเป็น ……”).

  22. การเปรียบเทียบเกณฑ์สัมบูรณ์ (สามารถทำได้สมบูรณ์ “ครบถ้วน”) นักเรียนทุกคน โรงเรียนทุกโรงเรียน ร้อยละ 100 ของผู้เรียนระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ร้อยละ 100 ของโรงเรียนจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม

  23. การเปรียบเทียบเกณฑ์มาตรฐานเชิงวิทยาศาสตร์ (สามารถทำได้ใกล้เคียงค่ามาตรฐานกลาง “สูงกว่า เท่ากับ ต่ำกว่าค่ามาตรฐานกลาง”) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีค่าเฉลี่ยระดับ ดีมาก

  24. การเปรียบเทียบเกณฑ์มาตรฐานเชิงนโยบาย (สามารถทำได้ใกล้เคียงปริมาณความต้องการที่กำหนดโดยนโยบายของรัฐบาลหรือแผนของกระทรวง “สูงกว่าแผน เท่ากับแผน ต่ำกว่าแผน”) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักจากการประเมินระดับชาติมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 50

  25. การเปรียบเทียบการเคลื่อนไหวเชิงพัฒนา (สามารถทำได้ดีขึ้นกว่าเดิม “จาก.……… เป็น ……… คิดเป็น ……”). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากการประเมินระดับชาติมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 อัตราการออกกลางคันลดลง

  26. การกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนก่อนประถมศึกษาที่จบการศึกษาตามกำหนดเวลาของหลักสูตร ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนประถมศึกษาที่จบการศึกษาตามกำหนดเวลาของหลักสูตร ตัวชี้วัด : จำนวนนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่จบการศึกษาตามกำหนดเวลาของหลักสูตร

  27. การกำหนดค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนก่อนประถมศึกษาที่จบการศึกษาตามกำหนดเวลาของหลักสูตร ข้อมูลฐาน ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ร้อยละ 92 ร้อยละ94 ร้อยละ96 ร้อยละ98 ร้อยละ100 ร้อยละ 92 ร้อยละ100 ร้อยละ100 ร้อยละ100 ร้อยละ100

More Related