260 likes | 466 Views
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning. Development of Programming Lesson by e-Learning. จิตติญาดา พุกกะมาน นิตินัย ไพศาลพยัคฆ์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม. ความเป็นมาและความสำคัญของ ปัญหา. Programming. แนวความคิด. LMS Model.
E N D
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning Development of Programming Lesson by e-Learning จิตติญาดา พุกกะมาน นิตินัย ไพศาลพยัคฆ์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา Programming
ส่วนประกอบของ LMS Learning Management System
1. ระบบจัดการหลักสูตร Course Management • ผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ผู้เรียน ผู้สอน และผู้บริหารระบบ โดยสามารถเข้าสู่ระบบจากที่ไหน เวลาใดก็ได้ โดยผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ระบบการสร้างบทเรียนContent Management • ประกอบด้วยเครื่องมือในการช่วยสร้าง Content ระบบสามารถใช้งานได้ดีทั้งกับบทเรียนในรูป Text - based และบทเรียนใน รูปแบบ Streaming Media
3. ระบบการทดสอบและประเมินผลTest and Evaluation System • มีระบบคลังข้อสอบ โดยเป็นระบบการสุ่มข้อสอบสามารถจับเวลาการทำข้อสอบและการตรวจข้อสอบอัตโนมัติ พร้อมเฉลย รายงานสถิติ คะแนน และสถิติการเข้าเรียนของนักศึกษา
4. ระบบส่งเสริมการเรียนCourse Tools • ประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้สื่อสารระหว่าง ผู้เรียน - ผู้สอน และ ผู้เรียน - ผู้เรียน
5. ระบบจัดการข้อมูลData Management System • ประกอบด้วยระบบจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ ผู้สอนมีเนื้อที่เก็บข้อมูลบทเรียนเป็นของตนเอง โดยได้เนื้อที่ตามที่ผู้ดูแลระบบกำหนดให้
Learning Object (LO) • นำรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรมาวิเคราะห์เพื่อเลือก Learning Object ไปใช้ในการสร้างและพัฒนารายวิชาที่จัดการเรียนการสอนให้ตรงกับวัตถุประสงค์รายวิชา • ใช้ประโยชน์จากการใช้เนื้อหาร่วมกันในรายวิชาที่ต่างกัน (Share Content) ทำให้การพัฒนาเนื้อหาในรายวิชาทำได้รวดเร็วยิ่งขึ้น • ลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาบทเรียน (Content Maintenance)
การใช้งานระบบ e-Learning หน้าจอสำหรับเข้าใช้งานระบบ http://itschool.siam.edu/it-elearning
การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) หน้าหลักระบบ e-Learning
การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) เอกสารนำเสนอจัดทำเป็นรูปแบบ Slide Show
การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) แบบทดสอบตนเอง- เติมคำ ปรนัย
การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) แบบทดสอบตนเอง – จับคู่ หาตำแหน่งที่ผิด
การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) แสดงผลการทำแบบทดสอบตนเอง
การใช้งานระบบ e-Learning (ต่อ) วิดีโอแสดงวิธีปฏิบัติพร้อมคำอธิบาย
แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้งานแบบประเมินความพึงพอใจในการใช้งาน
ผลการประเมินการใช้งานระบบ e-Learning
ข้อเสนอแนะ • ในรายวิชาที่เน้นการปฏิบัติ สามารถสร้างบทเรียน e-Learning ควบคู่ไป เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษามีการเตรียมตัวในส่วนของความรู้พื้นฐาน หลักการ แนวคิด นำไปใช้ในส่วนปฏิบัติ • ควรส่งเสริมการสร้างบทเรียนระบบ e-Learning เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนการสอนในทุกรายวิชา • ควรจัดทำบทเรียนให้เป็นมาตรฐาน เพื่อให้สามารถพัฒนาการเรียนการสอนให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน สามารถแลกเปลี่ยนเนื้อหาหรือบทเรียนของ e-Learning ระหว่างกันได้ • ควรพัฒนาระบบสารสนเทศอื่นเพิ่ม เพื่อติดตามการเข้ามาใช้งานระบบ เช่น ตรวจสอบจำนวนครั้ง ระยะเวลาที่เข้ามาใช้งานในแต่ละครั้ง เพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกบางอย่างเพิ่มเติม