1.07k likes | 4.12k Views
สมบัติของธาตุแทรนซิชัน สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน. ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements). ธาตุแทรนซิชัน. ธาตุแทรนซิชัน. Electron configurations of Cr and Cu. สมบัติของธาตุแทรนซิชัน.
E N D
สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน • สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน • สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements)
ธาตุแทรนซิชัน Electron configurations of Cr and Cu
สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน การที่ธาตุแทรนซิชันมีสมบัติแตกต่างจากโลหะทั่วๆ ไป ทำให้ต้องแยกออกเป็นกลุ่ม ๆ ต่างหาก ลักษณะที่สำคัญของธาตุแทรนซิชันเป็นดังนี้ 1. มีเลขออกซิเดชันมากกว่า 1 ค่า ยกเว้นหมู่ IIIB เช่น Sc เป็น +3 ค่าเดียว และหมู่ IIB (Zn, Cd) เป็น +2 ค่าเดียว 2. ธาตุแทรนซิชันเป็นโลหะ จึงดึงดูดกับแม่เหล็ก และมีบางธาตุ เช่น Fe, Co, และ Ni สามารถแสดงสมบัติเป็นแม่เหล็กได้เมื่อนำไปวางไว้ในสนามแม่เหล็กนาน ๆ นอกจากนี้ยังมีสารประกอบของธาตุแทรนซิชันอีกหลายชนิดที่สามารถดูดกับแม่เหล็กได้ 3. สารประกอบส่วนใหญ่ มีสี (ยกเว้นหมู่ IIIB) ซึ่งเป็นสีของไอออนเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน 4. ธาตุแทรนซิชันมีแนวโน้มที่จะเกิดสารประกอบเชิงซ้อนได้ 5. มีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 (ยกเว้น Cr, และ Cu มีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1) และอิเล็กตรอนถัดจากวงนอกสุดไม่ครบ 18 (ยกเว้น Cu และ Zn)
สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน • รัศมีอะตอมมีแนวโน้มลดลงจากซ้ายไปขวาของคาบ (หรือเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น รัศมีอะตอมจะเล็กลง) ซึ่งเหมือนกับธาตุในคาบเดียวกันทั่วๆ ไป) • มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดค่อนข้างสูง เพราะมีพันธะโลหะ • หนาแน่นเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมวลเพิ่มขึ้นในขณะที่ขนาดเล็กลง • ค่า IE1 , IE2 , และ IE3 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น แต่ค่าต่างกันไม่มากนัก เพราะขนาดใกล้เคียงกัน • อิเล็กโทรเนกาติวิตีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น • เป็นโลหะที่นำความร้อนและนำไฟฟ้าได้ดีเหมือนกับโลหะทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้เพราะมีพันธะโลหะ
สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน Atomic radii
สมบัติของธาตุแทรนซิชันสมบัติของธาตุแทรนซิชัน Transition metal densities
เลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชันเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน
สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน * โลหะแทรนซิชันมีโครงสร้างทางอิเล็กตรอนที่แตกต่างไปจากโลหะหมู่ที่ IA และหมู่ IIA คือสามารถรวมกับไอออน หรือหมู่ไอออน โมเลกุลหรือสารบางชนิดที่มีอิเล็กตรอนคู่ว่างอยู่เกิดเป็นสารประกอบโคเวเลนต์ที่เรียกว่า สารประกอบโคออดิเนชันหรือสารประกอบเชิงซ้อน (Complex Compound) สารประกอบเชิงซ้อน คือ สารประกอบที่มีไอออนเชิงซ้อนเป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย ส่วนมากเกิดกับธาตุแทรนซิชัน ไอออนเชิงซ้อน คือ สารที่เกิดจากไอออนลบ (anions) หรือโมเลกุลที่เป็นกลางไม่มีประจุจำนวนหนึ่ง หรือมากกว่านั้นมาสร้างพันธะเคมีกับไอออนกลางของโลหะ เช่น Cu(NH3)42+, ไอออนเชิงซ้อนมี 2 ชนิดคือ ไอออนเชิงซ้อนที่เป็นไอออนบวก และไอออนลบ
สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน อะตอมกลางหรือไอออนกลาง(Central atom ion) คือ อะตอมของธาตุที่อยู่แกนกลางของสารเชิงซ้อน ส่วนมาก ได้แก่ โลหะแทรนซิชัน ลิแกนด์ คือ ไอออนหรือโมเลกุลที่ล้อมรอบอะตอมกลางหรือไอออนกลาง สารพวกนี้เป็นสารที่มีอะตอมของธาตุที่มีอิเล็กตรอนคู่อิสระอยู่ เช่น F-, Br-, OH-, SCN-, S2-,CO, NH3, H2O เป็นต้น พันธะระหว่างลิแกนด์ และโลหะแทรนซิชันที่อยู่กลางในสารเชิงซ้อนเป็นพันธะโคเวเลนต์ และจำนวนลิแกนด์ที่ล้อมรอบโลหะแทรนซิชันที่อยู่กลาง เรียกว่า เลขโคออร์ดิเนชันและเลขโคออร์ดิเนชันเป็นเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของธาตุแทรนซิชัน เลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชัน และชนิดของลิแกนด์ด้วย
โครงสร้างของไอออนเชิงซ้อนโครงสร้างของไอออนเชิงซ้อน
ธาตุแทรนซิชันและสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันธาตุแทรนซิชันและสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน
สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน
สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน ตารางแสดงสารประกอบเชิงซ้อนบางชนิดและไอออนองค์ประกอบ
สมบัติบางประการของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสไอออนสมบัติบางประการของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสไอออน Cr Mn +6 +6 +7 H+ H+ Cr3+ + O2(g) Cr2O72- + H2O2 MnO42- MnO4- สีเขียว สีส้ม สีเขียว สีม่วงแดง S2- H+ OH- H+กับ S2- NaOH Cr2+ +6 +4 สีน้ำเงิน Mn2+ CrO42- MnO2 สีชมพูอ่อน สีเหลือง สีดำ OH- +3 Mn(OH)3 สีน้ำตาล
สีของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสในน้ำสีของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสในน้ำ *ไม่ละลายน้ำ
การเตรียมสารประกอบเตตระแอมมีนคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต เตรียมโดยนำ CuSO4.5H2Oซึ่งเป็นผลึกสีฟ้ามาละลายน้ำ แล้วเติม NH3จะได้ผลึกสีครามเข้ม เมื่อตั้งทิ้งไว้ข้ามคืนจะเปลี่ยนเป็นสารสีเขียวแกมฟ้า ดังสมการ (ทิ้งไว้ข้ามคืนจะเกิดการเปลี่ยนแปลงชนิดของลิแกนด์และจำนวนน้ำผลึก) CuSO4.5H2O + 4NH3 [Cu(NH3)4]SO4.H2O + 4H2O (สีฟ้า) (สีคราม) ทิ้งไว้ข้ามคืน [Cu(NH3)3SO4]+ NH3+ H2O (สีเขียวแกมฟ้า)
สารประกอบเชิงซ้อนขอธาตุแทรนซิชันสารประกอบเชิงซ้อนขอธาตุแทรนซิชัน
การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน • เรียกชื่อไอออนบวกก่อนไอออนลบ เช่นเดียวกับการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก • การเรียกชื่อไอออนเชิงซ้อน ให้เรียกชื่อลิแกนด์ก่อนแล้วตามด้วยชื่อของไอออนของธาตุแทรนซิชัน • **การเรียกชื่อลิแกนด์ • 1) ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย -ide เปลี่ยนเป็น -o
การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน • **การเรียกชื่อลิแกนด์ • 2) ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย –ite หรือ –ate เปลี่ยนเป็น –ito, –ato
การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน • **การเรียกชื่อลิแกนด์ • 3)ลิแกนด์ที่ไม่มีประจุหรือเป็นกลาง : ให้เรียกเหมือนกับโมเลกุลที่เป็นกลาง ยกเว้น
การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน • **การเรียกชื่อลิแกนด์ • 4)ถ้าสารประกอบเชิงซ้อนมีลิแกนด์ชนิดเดียวกันมากกว่าหนึ่ง : ให้บอกจำนวนที่ซ้ำกันไว้หน้าชื่อลิแกนด์ด้วยภาษากรีก
การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน **การเรียกชื่อไอออนเชิงซ้อน 1)ถ้าไอออนเชิงซ้อนมีประจุเป็นลบ : ให้เรียกชื่อลิแกนด์แล้วตามด้วยชื่อโลหะ และเปลี่ยนคำลงท้ายเป็น –ate และใส่เลขออกซิเดชันไว้ในวงเล็บต่อจากชื่อโลหะด้วยเลขโรมัน
การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน **การเรียกชื่อไอออนเชิงซ้อน 2)ไอออนเชิงซ้อนที่มีประจุเป็นลบ : ชื่อโลหะบางตัวมีชื่อเรียกเป็นภาษาละติน ให้ใช้ภาษาละตินและลงท้ายด้วย –ate
การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน 3. ในกรณีที่สารประกอบเชิงซ้อนนั้นมีลิแกนด์หลายชนิด ให้เรียกชื่อลิแกนด์ที่มีประจุลบก่อน ตามด้วยลิแกนด์ที่เป็นกลาง และลิแกนด์ที่มีประจุบวกไว้ท้ายสุด
การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อนการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน ตัวอย่าง การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน