550 likes | 1.11k Views
การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (PRIVATIZATION). เค้าโครง. ความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แผนแม่บท การปรับโครงสร้างตลาด การปรับรัฐวิสาหกิจให้เป็นหน่วยธุรกิจ วิธีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ. ความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ.
E N D
การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ(PRIVATIZATION)การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ(PRIVATIZATION)
เค้าโครง • ความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • แผนแม่บท • การปรับโครงสร้างตลาด • การปรับรัฐวิสาหกิจให้เป็นหน่วยธุรกิจ • วิธีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
ความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การแปรรูป (ปฏิรูป) รัฐวิสาหกิจ เรียกได้หลายชื่อ: Privatization Capitalization Peopleization Equitization Commercialization
วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ หลากหลายและอาจขัดแย้งกันได้ แบ่งได้เป็น 5 กลุ่ม
วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 1 : ประสิทธิภาพและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ • ส่งเสริมประสิทธิภาพรวม • ส่งเสริมเอกชน กลไกตลาด การแข่งขัน • พัฒนาตลาดหลักทรัพย์ • ส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ • เปิดตลาดต่างประเทศ
วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 2 : ประสิทธิภาพและการพัฒนา • ในระดับวิสาหกิจ • ส่งเสริมประสิทธิภาพของวิสาหกิจ • ส่งเสริมเทคโนโลยีทันสมัย • ปรับปรุงเครื่องจักร อุปกรณ์ • เพิ่ม capacity utilization • ของหน่วยผลิต
วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 3 : ปรับปรุงด้านงบประมาณและการเงินภาครัฐ • ลดการขาดดุลงบประมาณ ลดหนี้สาธารณะ • ลดการอุดหนุนรัฐวิสาหกิจ • เพิ่มแหล่งเงินทุนจากเอกชน • สร้างแหล่งรายได้ภาษี
วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 4 : การกระจายผลประโยชน์ • กระจายความเป็นเจ้าของสู่ประชาชน • พัฒนากลุ่มชนชั้นกลาง • ให้พนักงาน/ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจ • มีส่วนเป็นเจ้าของ
วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 5 : การเมือง • ลดขนาดและขอบเขตของภาครัฐในด้าน • เศรษฐกิจ (ระบบตลาด) • ลดโอกาสฉ้อโกงในภาครัฐ • ลดอำนาจครอบงำของสหภาพแรงงาน
วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ มักตอบสนองต่อปัญหาเฉพาะหน้า: วิกฤตการเงินของภาครัฐ รัฐวิสาหกิจไร้ประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ วัตถุประสงค์สำคัญ คือประสิทธิภาพ ไม่ใช่เพียงเปลี่ยนเจ้าของ แต่สำคัญที่ การส่งเสริมการแข่งขัน
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ 4 ขั้นตอน • แผนแม่บท (Master Plan) • การปรับโครงสร้างตลาด • การปรับรัฐวิสาหกิจให้เป็นหน่วยธุรกิจ • วิธีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • “พิมพ์เขียว” สำหรับการปฏิบัติ • กำหนด/จัดลำดับวัตถุประสงค์ • กำหนดขอบเขต จะแปรรูปสาขาใด รัฐวิสาหกิจใด • กำหนดแนวทาง/วิธีการ • ส่วนใหญ่มีการปรับโครงสร้างก่อน
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • กำหนดขั้นตอน ตารางเวลา • ระบุกฎหมายและโครงสร้างองค์กร ที่ต้องปรับปรุง • แนวทางป้องกันแก้ไขปัญหาพนักงานรัฐวิสาหกิจ • แนวทางการ “ประชาสัมพันธ์”
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • หลักการของแผนแม่บทไทย: • ส่วนหนึ่งของแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังวิกฤต
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • แยกงานเป็น 3 ส่วน • นโยบายและแผน (policy and planning) โดยรัฐบาล • การกำกับดูแล (regulation) โดยองค์กรกำกับอิสระ • การให้บริการ (service provision) โดยเอกชนและรัฐวิสาหกิจ
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • กิจการใดควรแปรรูป? • สินค้า/บริการที่เอกชนผลิตได้อยู่แล้ว • สาธารณูปโภคที่มีผู้ผลิตได้หลายราย • สาธารณูปโภคที่ “ผูกขาดโดยธรรมชาติ” (กรณีก้ำกึ่ง) • บริการเชิงสังคม ไม่ใช่เชิงพาณิชย์ (แปรรูปไม่ได้)
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • กิจการสาธารณูปโภคมักมีรัฐวิสาหกิจ เป็นผู้ผูกขาด (ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ท่าเรือ) • ปรับเพื่อเพิ่มการแข่งขัน และมีการกำกับดูแล ผู้ผูกขาด
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • กิจการสาธารณูปโภคผูกขาดต้องปรับโดย “การแยกส่วน” (unbundling) และคำนึงถึง ประโยชน์/ต้นทุนของการกำจัดการผูกขาด
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • แยกแบบแนวตั้ง:upstream/ downstream เช่น generationtransmission distributionในไฟฟ้า • แยกแบบแนวนอน: แยกกิจการผูกขาดตามพื้นที่
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • แยกระหว่าง โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ (physical infrastructure) และการให้บริการ
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ: • แข่งขันได้ เช่น โรงไฟฟ้า โรงพักสินค้า ท่าเทียบเรือ เครือข่ายโทรศัพท์ทางไกล • ต้องผูกขาด เช่น ระบบสายส่ง/จำหน่ายไฟฟ้า ถนน รางรถไฟ โทรศัพท์พื้นฐาน ท่าเรือ ร่องน้ำ ท่าอากาศยาน
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • การให้บริการ: • แข่งขันได้ เช่น โทรศัพท์ การขนส่ง การขนยกสินค้า การขายปลีกไฟ/น้ำ • ต้องผูกขาด เช่น การขุดลอกร่องน้ำ การจัดระเบียบจราจร
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • ตัวอย่างข้อเสนอการแยกส่วนกิจการไฟฟ้าไทย: • ปัจจุบันผูกขาดโดย กฟผ. กฟน. กฟภ. • แยกส่วนโดยให้ผลิตไฟโดยเอกชนแข่งกัน ขายเข้าตลาดกลาง ผ่านระบบสายส่ง/สาย จำหน่ายซึ่งผูกขาดโดยรัฐวิสาหกิจ และแข่งกันขายปลีก
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ:Corporatizationกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ:Corporatization • ปรับสภาพรัฐวิสาหกิจให้เป็นหน่วยธุรกิจ (corporatization) • จากองค์กรรัฐ สู่องค์กรบริษัท (พรบ. ทุนรัฐวิสาหกิจ) • เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ และพร้อมที่จะขายให้เอกชน
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ:Corporatizationกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ:Corporatization • การใช้กฎหมายต่าง ๆ ในต่างประเทศ • นิวซีแลนด์เป็นแม่แบบที่สำเร็จ • Corporatization เพียงพอแล้ว? ไม่ต้องแปรรูป (privatize) แล้ว?
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การเพิ่มบทบาทเอกชน (Privatization) 2 แนวทาง: • ขายหุ้นให้เอกชน • ให้สัมปทานแก่เอกชน (ช่วงเวลาหนึ่ง)
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การขายหุ้น มีหลายวิธี/มิติ • ขายให้ใคร อย่างไร: • ประชาชน IPO และ voucher • นักลงทุนสถาบัน • พนักงาน/ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจ • พันธมิตรร่วมทุน (strategicpartners)
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การขายหุ้น มีหลายวิธี/มิติ • ข้อจำกัดในการขายหุ้นให้ต่างชาติ • “หุ้นทอง”(golden shares)ถือโดยรัฐบาล • ก่อนขาย ต้องมีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน • บางกรณี ต้องมีการจัดองค์กรใหม่ • ระดับการพัฒนาของตลาดหลักทรัพย์ และวิธีการขายหุ้น
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (สิทธิชั่วคราวหรือ concession) ใช้กับ natural monopoly
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน มีหลายแบบ: จากเอกชนมีบทบาทน้อย ไปถึงมาก • Service/Management Contracts • Leases
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • ระยะเวลายาว 20 - 30 ปี • เอกชนลงทุน บริหาร และดำเนินงานเอง • มีสิทธิแต่ผู้เดียวในช่วงสัมปทาน
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions): • จ่ายค่าสัมปทานให้ภาครัฐ • เอกชนรับความเสี่ยงด้านตลาด แต่รัฐอาจประกันตลาดในบางกรณี
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 1) BTO โอนให้รัฐเมื่อสร้างเสร็จ ทางด่วนขั้น 2 ดอนเมืองโทลเวย์ โทรศัพท์
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 2) BOT โอนให้รัฐเมื่อสิ้นสุดสัมปทาน รถไฟฟ้า BTS ท่าเรือแหลมฉบัง ประปาปทุม-รังสิต
กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 3) BOO ไม่ต้องโอนให้รัฐ ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ (IPP)
อุปสรรคในการปรับปรุง/แปรรูปรัฐวิสาหกิจไทยอุปสรรคในการปรับปรุง/แปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย • ขาดความมุ่งมั่นทางการเมือง (political will) และความต่อเนื่อง • ขาดการสร้างความเข้าใจและการยอมรับในหมู่สาธารณชน
อุปสรรคในการปรับปรุง/แปรรูปรัฐวิสาหกิจไทยอุปสรรคในการปรับปรุง/แปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย • การทุจริต คอรัปชั่น ไม่โปร่งใส • การต่อต้านโดยพนักงานรัฐวิสาหกิจ • บทบาทและอิทธิพลของทุนต่างชาติ
เอกสารเพิ่มเติม: “The Privatization Challenge: A Strategic, Legal, and Institutional Analysis of International Experience” by Pierre Guislain, The World Bank, 1997
เอกสารเพิ่มเติม: “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2542
เอกสารเพิ่มเติม: “สาระน่ารู้: การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ” สำนักรัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ของรัฐ กระทรวงการคลัง และ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2543
เอกสารเพิ่มเติม: “สัมปทานในกิจการสาธารณูปโภค” พรายพล คุ้มทรัพย์ และ สมัย โกรธินทาคม 2544
เอกสารเพิ่มเติม: “State Enterprises and Privatization in Thailand: Problems, Progress and Prospects” by Praipol Koomsup October 2002