1 / 77

ประวัติวิทยากร

ประวัติวิทยากร. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศีขรินทร์ สุขโต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตำแหน่งบริหาร รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ (QA) สาขาที่สนใจ การจัดการอุตสาหกรรม (Industrial Management) วิศวกรรมความปลอดภัย (Safety Engineering)

stanislaw
Download Presentation

ประวัติวิทยากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประวัติวิทยากร • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศีขรินทร์ สุขโต • ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • ตำแหน่งบริหาร รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ (QA) • สาขาที่สนใจ • การจัดการอุตสาหกรรม (Industrial Management) • วิศวกรรมความปลอดภัย (Safety Engineering) • การวิจัยการดำเนินงาน (Operation Research) • มาตรฐานอุตสาหกรรม (Industrial Standards) • การยศาสตร์ (Ergonomics) • การศึกษางานและการวางผังโรงงาน (Work Study and Plant Layout) • โปรแกรมสำเร็จรูป Excel VBA และ LINDO

  2. วงจรการดำเนินงาน กำไร โบนัส สวัสดิการ บริษัทฯ รายได้ ค่าจ้าง ต้นทุน สินค้า ลูกค้า การผลิต

  3. วงจรที่ต้องควบคุมอย่างต่อเนื่องวงจรที่ต้องควบคุมอย่างต่อเนื่อง รายได้ ต้นทุน สินค้า การผลิต

  4. ความเหมือนที่แตกต่าง • รายได้ = ต้นทุน + กำไร • กำไร = รายได้ - ต้นทุน

  5. Cost 5 m.

  6. ? การจัดการการผลิต ?

  7. อย่างไร ? Manage 4 m.

  8. 5W+2H ที่ต้องใส่ใจ • ใคร (Who) • ทำอะไร (What) • ทำไม (Why) • เมื่อไร (When) • ที่ไหน (Where) • อย่างไร (How) • เท่าไร (How much)

  9. P A C Deming’s Circle ปรับปรุง D

  10. จุดประสงค์ในการทำ 5 ส. • 1) ด้านคุณภาพ • ทำให้ชิ้นงาน เครื่องจักร มีคุณภาพ ไม่มีของเสียที่เกิดจากการจัดเก็บที่ไม่ถูกต้อง เครื่องจักรอุปกรณ์ได้รับการดูแลบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ • 2) ความปลอดภัย • ทำให้เกิดความปลอดภัยในสถานที่ทำงานเพราะไม่มี สิ่งที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ พื้นที่ทำงาน สะอาด เป็นระเบียบ • 3) ประสิทธิภาพ • ทำให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานเพราะดูไม่แออัดวุ่นวาย การจัดวางสิ่งของก็มีการจัดทำอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย ง่ายแก่การค้นหา รวดเร็ว ถูกต้อง ทำให้พนักงานมีกำลังใจในการทำงาน 5S 7 m.

  11. สะสาง หรือ Seiri (เซริ) หรือ Sortคือ การแยกของที่ไม่จำเป็นต้องใช้กับของที่จำเป็นต้องใช้ออกจากกัน หรือกำจัดออกไป • ทำให้ได้ใช้ประโยชน์จากการใช้พื้นที่ของโรงงานมากขึ้น • ลดความสิ้นเปลืองวัสดุ และอุปกรณ์ต่างๆ • เกิดความผิดพลาดในการทำงานน้อยลง • ใช้ประโยชน์ได้มากขึ้นจากตู้เก็บเอกสารและชั้นวางของ • ลดจำนวนสต็อคสินค้า

  12. 2) สะดวก หรือ Seiton (เซตง) หรือ Storage คือ การจัดวางของที่จำเป็นต้องใช้งานไว้ในที่สะดวกต่อการใช้งานโดยคำนึงถึงคุณภาพ ประสิทธิภาพและความปลอดภัย • ลดเวลาจากการค้นหา • ทำให้เห็นความแตกต่างหรือชนิดของสิ่งของได้ง่ายขึ้น • ตรวจสอบสิ่งของต่างๆ ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น • เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน • ลดการสูญหายของสิ่งของ เครื่องใช้ต่างๆ • มีความปลอดภัยในการทำงาน

  13. 3) สะอาด หรือ Seiso (เซโซ) หรือ Shine คือ การทำความสะอาด ขจัดข้อบกพร่องและขจัดสาเหตุอันเป็นบ่อเกิดของขยะ ความสกปรก ในสถานที่ทำงาน ตลอดจน เครื่องมือ เครื่องใช้อุปกรณ์และเครื่องจักรต่างๆ • ทำให้สถานประกอบการ สภาพแวดล้อมการทำงานดีขึ้น มีบรรยากาศร่มรื่น สะอาด น่าทำงาน ปลอดภัย • เครื่องจักร อุปกรณ์มีความเที่ยงตรง อายุการใช้งานยาวนานขึ้น มีประสิทธิภาพ ในการทำงานสูงขึ้น • ผลิตภัณฑ์เสื่อมคุณภาพน้อยลง เป็นที่เชื่อถือของลูกค้า • ลดต้นทุนในการผลิตและลดอัตราของเสีย

  14. 4) สุขลักษณะ หรือ Seiketsu (เซเค็ทซึ) หรือ Standardคือ การสร้างมาตรฐานเพื่อให้มีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ดี มีความปลอดภัยการทำสะสาง สะดวก สะอาดก่อน โดยทุกคนมีส่วนร่วมดำเนินการ • สถานที่ทำงาน บรรยากาศในการทำงานร่มรื่น สะอาด เรียบร้อย น่าทำงาน • พนักงานมีความปลอดภัย มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ • สภาพแวดล้อมปราศจากมลภาวะ

  15. 5) สร้างนิสัย หรือ Shitsuke (ซิทสึเกะ) หรือ Sustain คือ การทำให้เกิดเป็นนิสัยในการปฏิบัติตามระเบียบต่างๆของหน่วยงานอย่างเคร่งครัดและถูกต้อง • ทำให้ลูกค้าเกิดความเชื่อถือ ไว้วางใจมากขึ้น • ทำให้ผลิตภัณฑ์หรือบริการตอบสนองความต้องการของลูกค้าเพิ่มขึ้น • ทำให้สถานประกอบการหรือหน่วยงานนั้นมีการยกระดับมาตรฐานทางธุรกิจสูงขึ้น • พนักงานมีความภาคภูมิใจในหน่วยงานของตนเองมากยิ่งขึ้น

  16. QCC Quality Control Circle QCC 20 m.

  17. ประโยชน์ QCC ต่อองค์กรหรือต่อหน่วยงาน • (1) การบริหารงานภายในองค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • (2) การควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต การผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลผลิตมีคุณภาพสูงขึ้น ต้นทุนและค่าใช้จ่ายลดลง ปริมาณของเสียลดลง การบำรุงรักษาเครื่องมือเครื่องจักรดีขึ้น • (3) เกิดการพัฒนาบุคลากรในองค์กร ทำให้เกิดจิตสำนึกในการทำงานและมีทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน ต่อองค์กร มีส่วนร่วมในการพัฒนางานและปรับปรุงงานให้ดียิ่งขึ้น เป็นที่ยอมรับและเชื่อถือของคนทั่วไป • (4) เป็นแนวทางมุ่งไปสู่การควบคุมคุณภาพทั้งองค์กร

  18. ประโยชน์ QCC ต่อพนักงาน • (1) ช่วยให้มีการพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถของตนเองมากขึ้น มีความปลอดภัยในการทำงาน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงานและมีขวัญกำลังใจในการทำงานดีขึ้น • (2) ทำให้เข้าใจปัญหา วิธีการแก้ไขปัญหาและหาสาเหตุของปัญหานั้นๆ บนพื้นฐานและข้อมูลที่เป็นจริง มีระบบ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • (3) ส่งเสริมความเป็นผู้นำและเสริมทักษะในการจัดการ • (4) มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน

  19. สำคัญที่สุด การค้นหาปัญหา • ปัญหาด้านประสิทธิภาพของการทำงาน • ปัญหาเกี่ยวกับความปลอดภัย • ปัญหาเกี่ยวกับการประหยัดค่าใช้จ่าย ลดค่าใช้จ่ายและลดการสูญเสียต่างๆ • ปัญหาเรื่องความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นต้น

  20. ผังก้างปลา (Cause and effect/fish - bone diagram) • ผังแสดงเหตุและผล หรือ แผนภูมิที่มีรูปร่างคล้ายก้างปลา แสดงความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบระหว่างต้นเหตุและผลของต้นเหตุเหล่านั้น ใช้เพื่อการค้นหาสาเหตุหรือต้นเหตุของการเกิดปัญหาที่จะทำการแก้ไข โดยการแยกเป็นสาเหตุหลักและสาเหตุย่อย

  21. Man/คน Machine/เครื่องจักร การผลิต Material/วัตถุดิบ Method/วิธีการ

  22. P A C Deming’s Circle Plan วางแผน Do ลงมือปฏิบัติ D Act ทบทวนแก้ไข/ปรับปรุง Check ตรวจสอบผล

  23. ด้านการผลิต • ผลิตเท่าที่จำเป็น • หยุดผลิตทันทีที่ผิดพลาด • กำจัดทุกสิ่งที่ไม่เพิ่มมูลค่า • ด้านการจัดการ • ให้ความสำคัญกับพนักงานทุกคน • ใช้ศักยภาพของพนักงานอย่างเต็มที่ • เชื่อมั่นในความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ของพนักงาน

  24. ประกายความคิดแรกเริ่มประกายความคิดแรกเริ่ม

  25. Value Added & Non- Value Added

  26. ความสูญเปล่าที่พบได้จำนวน 7 ชนิด ได้แก่ ผลิตมากเกินความจำเป็น การซ่อมแซมแก้ไขสินค้าที่เสียหาย การขนย้าย การมีสินค้าคงคลังจำนวนมาก การเคลื่อนที่ การรอคอย กระบวนการที่ยุ่งยากซับซ้อน 7 Wastes / MUDA Overproduction Defects and Reworks Transportation Unnecessary Stock Unnecessary Motion Idle Time / Delay Non-effective Process

  27. 3 มู (3 Mu)ที่ต้องขจัด • 1. Muda ความสูญเปล่า

  28. 3 มู (3 Mu)ที่ต้องขจัด • 2. Mura ความไม่สม่ำเสมอ

  29. 3 มู (3 Mu)ที่ต้องขจัด • 3. Muri ความสุดวิสัย

  30. การไหลของชิ้นงานในการผลิตคราวละ 1 ชิ้น กระบวนการ 1 กระบวนการ 2 กระบวนการ 3 การไหลของชิ้นงานในการผลิตแบบเป็นงวด กระบวนการ 1 กระบวนการ 2 กระบวนการ 3

  31. น้ำลดตอผุด

  32. นึกถึง ซูเปอร์มาร์เกต

  33. ระบบการดึง (Pull System) การผลิตแบบ JIT เป็นการใช้ระบบดึง (Pull) การผลิตถูกควบคุมด้วยการดึงผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปออกไปให้ลูกค้า หรือไว้ใช้ในกระบวนการอื่นโดยใช้คัมบังการ์ด (Kanban Card) เมื่อผลิตภัณฑ์ถูกดึงออกไป คัมบังการ์ดถูกส่งไปยังสายการผลิต สายการผลิตจะผลิตสินค้าเพิ่มตามจำนวนที่กำหนด โดยมีจำนวนชิ้นงานคงค้างมาตรฐาน (Standard WIP หรือ SWIP) จำนวนเล็กน้อยเท่าที่ชิ้นส่วนจะถูกดึงไปใช้เมื่อต้องการเท่านั้น

  34. สมดุลสายการผลิต (Line balancing) • ขยายคอขวด (Bottle Neck) ให้ใกล้เคียงกันที่สุด

  35. หลักการปรับตั้งเครื่องจักร หรือ การเตรียมงาน ขั้นที่ 1 ให้หากิจกรรมหรือขั้นตอนที่เกี่ยวกับการปรับตั้งทั้งหมด ขั้นที่ 2 พิจารณาว่าขั้นตอนเหล่านี้เป็นแบบภายในหรือภายนอก ขั้นที่ 3 ทำการเปลี่ยนแปลงภายในเป็นแบบภายนอก เพื่อลดเวลาในการหยุดเครื่อง ขั้นที่ 4 ปรับกระบวนการปรับตั้งให้ง่ายและรวดเร็ว

  36. การป้องกันความผิดพลาด (Pokayoke) การป้องกันความผิดพลาดล่วงหน้า แทนการยอมรับ % ของชิ้นส่วนที่ชำรุด ไม่ผลิตสินค้าที่ชำรุดเสียหาย นั่นคือ ความเสียหาย = 0 เมื่อมีชิ้นส่วนเสียหายหรือชำรุดในระบบการผลิต ต้องหยุดระบบการผลิตชั่วคราว หาข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น หาทางแก้ไขข้อผิดพลาด สร้างอุปกรณ์หรือกระบวนการ Pokayoke ติดตั้งเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดอีก

  37. ตัวอย่างการป้องกันความผิดพลาด (Pokayoke) อุปกรณ์ Pokayoke ส่วนใหญ่จะเป็นแท่นยึดจับ หรือเซนเซอร์ เพื่อให้แน่ใจว่ามีการวางตัวอย่างถูกต้อง และผลิตอย่างถูกต้อง ก่อน Pokayoke ชิ้นส่วนอาจถูกวางผิดด้าน วางผิด วางถูก หลัง Pokayoke ชิ้นส่วนถูกวางได้แบบเดียว อุปกรณ์ Pokayoke แบบง่ายๆ

  38. U are easy ?

  39. ลำดับที่เหมาะสม

  40. การปรับเรียบสายการผลิตการปรับเรียบสายการผลิต

More Related