1 / 9

Inverse Laplace Transforms

Inverse Laplace Transforms. Rational Functions. Function ที่เราต้องการจะหา inverse Laplace transform มักจะอยู่ในรูป ฟังก์ชันเศษส่วน (rational function) โดยมีตัวเศษ (numerator: N ( s ) ) และตัวหาร (denominator: D ( s )) ซึ่งอาจจะเขียนได้ว่า Rational function นี้จะแบ่งออกเป็น

swain
Download Presentation

Inverse Laplace Transforms

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Inverse Laplace Transforms

  2. Rational Functions • Function ที่เราต้องการจะหา inverse Laplace transform มักจะอยู่ในรูป ฟังก์ชันเศษส่วน (rational function) โดยมีตัวเศษ (numerator: N(s) ) และตัวหาร (denominator: D(s)) ซึ่งอาจจะเขียนได้ว่า • Rational function นี้จะแบ่งออกเป็น • Proper rational functionถ้ากำลังของ sที่ตัวเศษมีค่าน้อยกว่า กำลังของ sที่ตัวหาร ซึ่งสามารถทำการ inverse Laplace transform ได้ต่อไป • Improper rational functionถ้ากำลังของ sที่ตัวเศษมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับกำลังของ sที่ตัวหาร เราจะต้องทำการตั้งหารยาวตัวเศษ เพื่อทำให้เป็น proper rational function เสียก่อน Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

  3. Proper Rational Functions • เมื่ออยู่ในรูป proper rational function เราจะสามารถหา inverse Laplace transform ได้ โดยรูปแบบที่จะหาได้นั้น จะขึ้นอยู่กับตัวหารD(s) เป็นสำคัญ ซึ่งแบ่งออกเป็นรูปแบบต่างๆ 3 แบบ ดังนี้ • Simple polesถ้าเราสามารถเขียน D(s) ได้ว่า • Complex Polesถ้าเราสามารถเขียน D(s) ได้ว่า • Repeated polesเกิดจากการที่ simples หรือ complex poles ที่ซ้ำกัน เช่น Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

  4. Simples Poles • จาก • จะได้ว่า • โดย • ให้นักศึกษาดู Method 1 จาก Example 15.9 หน้า 693 หรือวิธีเทียบสัมประสิทธิ์ ดู Method 2 จาก Example 15.9 หน้า 694 ประกอบ Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

  5. Complex Poles • จาก • จะได้ว่า • การหาค่า k1นั้นจะทำเช่นเดียวกับกรณี simple pole ส่วนการหาค่า Bและ Cนั้นทำได้หลายวิธี เช่นวิธีเทียบสัมประสิทธิ์ (ดู Method 2 จาก Example 15.11 หน้า 696) หรือแทนค่า sด้วยค่าง่ายๆ เช่น 0 และ 1 แล้วแก้สมการเพื่อหาค่า Bและ C (ดู Method 1 จาก Example 15.11 หน้า 696) Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

  6. Repeated Poles • ทั้ง simples poles และ complex poles สามารถที่จะเป็น repeated poles ได้ แต่ส่วนใหญ่เราจะสนใจที่เป็น simple poles ที่ซ้ำกันเท่านั้น • จาก • จะได้ว่า • การหาค่า k2, k3, .. , knนั้นจะกระทำในลักษณะเดียวกันกับ simple poles Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

  7. Repeated Poles (ต่อ) • การหาค่า Aและ Bนั้นหาได้จาก (ดู Method 1 จาก Example 15.10 หน้า 695) • หรือจะโดยวิธีเทียบสัมประสิทธิ์ (ดู method 2 จาก Example 15.10 หน้า 695) Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

  8. Long Division • การตั้งหารยาว เป็นวิธีที่ใช้ทำการเปลี่ยน improper rational function ให้เป็น proper rational function • การตั้งหารจะกระทำ โดยอาศัยหลักการหาร polynomial ธรรมดา เช่น • ซึ่งเป็น improper rational function หลังจากทำการหารยาวแล้วจะได้ Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

  9. Long Division (ต่อ) Quotient • หารจนส่วนนี้มี order น้อยกว่าตัวหาร ซึ่งจะหารต่อไม่ได้ ส่วนนี้คือ Remainder Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

More Related