1 / 30

Lesson 3.2 Volcan oes

Lesson 3.2 Volcan oes. ครู กุลวรรณ สวนแก้ว รร. เชียงยืนพิทยาคม. 1 .1 Volcanoes. เป็นธรณีสัณฐานลักษณะหนึ่งบนโลก สามารถพ่นสารละลายร้อน ( magma ) แก๊ส และเถ้าถ่านจากใต้เปลือกโลก รวมทั้งเศษหินต่างๆ

tadhg
Download Presentation

Lesson 3.2 Volcan oes

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Lesson 3.2Volcanoes ครูกุลวรรณ สวนแก้ว รร.เชียงยืนพิทยาคม

  2. 1.1Volcanoes • เป็นธรณีสัณฐานลักษณะหนึ่งบนโลก สามารถพ่นสารละลายร้อน (magma) แก๊ส และเถ้าถ่านจากใต้เปลือกโลก รวมทั้งเศษหินต่างๆ • โดยภูเขาไฟไม่ได้เกิดทั่วไป แต่จะเกิดเป็นแนวในบางบริเวณของเปลือกโลก ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในบริเวณที่แผ่นธรณีมาชนกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณวงแหวนแห่งไฟ • active volcanoes occurring at subduction boundaries usually results in more violent eruptions.

  3. 1.2 Structure of a Volcanoes

  4. โครงสร้างของภูเขาไฟ

  5. 2. Are all Eruptions Equal? • A quiet eruption • An explosive eruption

  6. Why are They Different • All magma is not equal • One key factor that controls quiet or explosive eruption is the amount of trapped gases and water vapor in the magma • If gases can escape easily, the eruption is quiet. If the gas builds up high pressures, it eventually will cause an explosive eruption. • The more trapped water vapor in the magma, the more explosive the eruptions • The second factor is the amount of silica in the magma

  7. Quiet Eruptions • Some eruptions, are quiet, with lava slowly oozing from a vent. • Magma that is relatively low in silica and other fluids is called Basaltic magma and produces quiet eruptions like those on Kilauea (Hawaii) • Trapped gases and water vapor can easily escape sometimes forming lava fountains • Quiet eruptions occur over hot spots (Hawaii) and divergent boundaries (Iceland)

  8. Explosive Eruptions • Some eruptions are very violent, with lava and other materials being hurled hundreds of miles into the air. Gases from within the earth's interior mix with huge quantities of dust and ash and rise into the air as great, dark, poisonous clouds that can be seen from 100’s of miles away. • Andesitic magma has more silica than basaltic so it erupts more violently • Silica-rich or Granitic or Rhyolite magma produces explosive eruptions like those at Soufriere Hills volcano. • Rhyolite magma is thick and can trap gas and water vapor causing and buildup of pressure

  9. Images from Mt. St. Helens Photo taken early 1980 Eruption could be felt and seen hundreds of miles away Present day

  10. 2. การระเบิดของภูเขาไฟ (volcanic eruption) • ก่อนการระเบิด แผ่นดินบริเวณรอบๆจะเกิดการสั่นสะเทือน มีเสียงคล้ายฟ้าร้องติดต่อกันเป็นเวลานาน • แมกมา แก๊ส ไอน้ำ เกิดการเคลื่อนมาใกล้ผิวโลก ถ้าปล่องภูเขาไฟปิดอยู่จะเกิดการสะสมของแก๊สทำให้เกิดแรงดันมากขึ้น จนเกิดการประทุ • เมื่อเกิดการประทุ แมกมา เศษหิน ฝุ่นละออง เถ้าถ่าน จะถูกพ่นออกมาทางปล่องภูเขาไฟ ช่องด้านข้างและรอยแยกต่างๆของภูเขาไฟ

  11. แมกมาเมื่อขึ้นสู่ผิวโลกจะเรียกว่า ลาวา (lava) และลาวาจะมีความดันต่ำว่าแมกมา และไหลไปตามความลาดเอียงของพื้นที่ ส่วนแก๊สจะลอยไปในอากาศ ซึ่งจะเป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน และแก๊สกลุ่มกำมะถัน • ความรุนแรงของภูเขาไฟระเบิด มักมาจาก ความหนืดของแมกมา เพราะถ้าแมกมาหนืดมาก แก๊สจะเคลื่อนที่ออกมาได้ยาก ทำให้แรงดันของแมกมาสะสมมากขึ้น • โดยส่วนประกอบที่มีผลต่อความหนืดของแมกมา คือ ซิลิกา (SiO2)

  12. 3. PyroclasticFlow/Surge • Hot ash, embers, and poisonous gas • Maybe 1000 degrees Celsius • Moves very fast 100’s of meters per second • Moves with great force that has the ability to knock down trees and small buildings • Surge can bury, burn, and destroy everything in its path on impact. • In 1902, Mount Pelee’s surge killed 30,000 people

  13. ชิ้นส่วนภูเขาไฟที่ระเบิดออกมา เมื่อเย็นตัวและแข็งเป็นหิน เรียกว่า หินชิ้นภูเขาไฟ (pyroclastic rock) ซึ่งเรียกชื่อตามขนาดและลักษณะของชิ้นส่วนที่พ่นออกมา เช่น • เถ้าภูเขาไฟ ขนาด ศ.ก.0.06-2 mm เรียก หินทัพฟ์(Tuff) • ชิ้นส่วนที่ ศ.ก.ใหญ่กว่า 64 mm ถ้าเป็นเหลี่ยม เรียก บล็อก (block) ถ้าคล้ายหยดน้ำเรียก บอมบ์ (bomb) • หินที่ประกอบด้วยบล็อกและบอมบ์ จะเรียกว่า หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ (agglomerate)

  14. ลาวาที่เย็นตัวและแข็งตัวอย่างรวดเร็ว เรียก แก้วภูเขาไฟ (volcanic glass) • ลาวาที่เกิดการแข็งตัวขณะมีแก๊สอยู่ภายใน ซึ่งทำให้เนื้อหินมีรูพรุนมาก คล้ายรังผึ้ง และมีน้ำหนักเบา ลอยน้ำได้ เรียกว่า หิน พัมมิซ (pumice)

  15. 4. The Types of Volcanoes Composite Volcanoes“Stratovolcanoes” • Some volcanic eruptions can vary between quiet and explosive depending on the trapped gases and silica content. • Alternating layers of tephra and lava create a composite volcano • Composite volcanoes mostly occur at convergent boundaries • Grows to be the tallest volcanoes in the world

  16. Cinder Cone Volcano • A cinder cone volcano has steep sides and is loosely packed • Its explosive eruptions throw lava and bits of rock high into the air • Bits of rock or solidified lava dropped from the air are called tephra which ranges in size from ash to large rocks

  17. Shield Volcano • A shield volcano is broad with gently sloping sides and has quiet eruptions like those in Hawaii • Basaltic lava can also flow through large cracks called fissures forming flood basalts not volcanoes. • Underwater flood basalts are responsible for creating much of the new seafloor

  18. Caldera Volcano

  19. 1.ภูเขาไฟสลับชั้น Composite volcano เกิดจากการสลับของชั้นลาวาและชั้นเศษหิน เป็นภูเขาไฟที่มีรูปร่างสมมาตร และจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการประทุอย่างกะทันหัน ถ้ามีการปะทุรุนแรง จะมีลาวาไหลออกจากด้านข้างของไหล่เขา มักมีปล่องที่ใหญ่และมีแอ่งปากปล่อง เช่น ภูเขาไฟฟูจิ ภูเขาไฟมายอน ในประเทศฟิลิปปินส์ 4.ประเภทของภูเขาไฟ แบ่งตามลักษณะรูปร่างและการเกิด

  20. 2.ภูเขาไฟกรวยกรวด Cindercone จะมีลักษณะสูงชันมาก เนื่องจากลาวามีความหนืดมากทำให้ไหลได้ไม่ต่อเนื่อง ลาวาที่ไหลออกมา จะมาสะสมตัวอยู่รอบๆช่องปะทุ ทำให้เกิดเป็นภูมิประเทศคล้ายกระด้ง คือ ตรงกลางเป็นแอ่งตื้น ห่างออกไปเป็นขอบที่ไม่สูงมากนัก  

  21. 3.ภูเขาไฟรูปโล่ Shieldvolcano เป็นเนินเตี้ยแบบกระทะคว่ำ เกิดจากการไหลของลาวาที่ค่อนข้างเหลว ไหวแผ่เป็นบริเวณกว้าง การปะทุไม่รุนแรง

  22. 4. ภูเขาไฟ แบบ แคลดีรา (Caldera) ภูเขาไฟที่มีปล่องภูเขาไฟที่กว้างใหญ่ เกิดจากยอดของภูเขาไฟ ที่ยุบตัวลงไปในที่กักเก็บหินหนืด

  23. การเกิดภูเขาไฟ แบบ Caldera

  24. 5. ผลของภูเขาไฟระเบิดที่มีผลต่อลักษณะภูมิประเทศ • 1. เกิดพื้นที่ขึ้นใหม่ เช่น ที่ราบสูงบะซอลต์ • 2. พื้นที่ภูเขาไฟหายไป หรือมีรูปร่างเปลี่ยนไป อาจเกิดจากการทำลาย ทรุดตัว หรือ การกัดเซาะผุพังของภูเขาไฟ • 3. เกิดภูเขาไฟรูปโล่ (shield volcano) เกิดจากลาวาของหินบะซอลต์ระเบิดออกมา และทับถมกันเป็นสันนูนเหมือนภูเขาไฟเดิมขยายตัวออก • 4. เกิดภูเขาไฟ กรวยภูเขาไฟสลับชั้น เกิดจากการทับถมซ้อนกัน หรือ สลับกันระหว่างการไหลของลาวากับชิ้นส่วนภูเขาไฟ

  25. 6. ภูเขาไฟในประเทศไทย • ไม่มีภูเขาไฟที่มีพลัง แต่เคยมีการระเบิดของภูเขาไฟมาก่อน • พบหินภูเขาไฟกระจายอยู่ทั่วประเทศ เช่น ลพบุรี กาญจนบุรี ตราด สระบุรี ลำปาง สุรินทร์ และศรีสะเกษ • ภูเขาไฟที่พบ จะมีรูปร่างไม่ชัดเจน ที่ชัดเจนที่สุด คือ ภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู (ลำปาง) ภูพระอังคาร และภูเขาพนมรุ้ง (บุรีรัมย์)

  26. ภูเขาไฟในประเทศไทย ประเทศไทยจัดว่ามีภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้วทั้งหมด แต่ก็อาจเกิดแผ่นดินไหวขึ้นได้ แต่จะไม่รุนแรง มากเท่าใดนัก ภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้วในประเทศไทยมีดังนี้ 1.ภูเขาไฟหินพนมรุ้ง 2. ภูเขาไฟหินหลุบ 3.ภูเขาไฟอังคาร 4. ภูเขาไฟดอยผาคอกจำปาแดด 5. ภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู 6. ภูเขาไฟกระโดง 7. ภูเขาไฟไบรบัด 8. ภูเขาไฟคอก

  27. โทษ 7. โทษและประโยชน์ของภูเขาไฟ • การเกิดแผ่นดินไหว • การไหลของชิ้นส่วนภูเขาไฟที่ร้อน ทำให้เกิดความเสียหาย • กลุ่มควัน เถ้าธุลี ส่งผลให้ภูมิอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง และเมื่อเกิดฝนตกหนักจะกลายเป็นโคลนไหลทับบ้านเรือน • กลุ่มแก๊สซัลเฟอร์ ทำให้เกิดฝนกรด • บางส่วนภูเขาไฟถล่มในมหาสมุทร ก่อให้เกิดคลื่นยักษ์ สึนามิ

  28. ประโยชน์ • ดินเกิดจากการผุผังสลายตัวของเศษหิน จะมีแร่ธาตุที่เป็นอาหารของพืช • เมื่อลาวาแข็งตัวจะกลายเป็นหินบะซอลต์ ที่เป็นแหล่งกำเนิด อัญมณีที่มีค่าทางเศรษฐกิจ • หินภูเขาไฟมีส่วนประกอบของเฟลด์สปาร์ ซึ่งจะให้แร่ดินขาว ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมเซรามิก • เกิดแหล่งท่องเที่ยว เช่น แท่งเสาหินบะซอลต์ วัดแสนตุ่ม จ. ตราด

More Related