150 likes | 419 Views
http :// 164.115.5.58 / ili. ระบบเฝ้าระวัง และการรายงานข้อมูล. - ลงทะเบียน รับ Username และ Password. - การรายงานข้อมูล แต่ละครั้งเลือกส่ง 1 วิธี. SMS โดยใช้ SIM card ของสำนักระบาด Key ข้อมูลบน Website. - รวบรวบ ประมวลผลข้อมูล และ แจ้งเตือน.
E N D
ระบบเฝ้าระวัง และการรายงานข้อมูล - ลงทะเบียน รับ Username และ Password - การรายงานข้อมูล แต่ละครั้งเลือกส่ง 1 วิธี • SMS โดยใช้ SIM card ของสำนักระบาด • Key ข้อมูลบน Website - รวบรวบ ประมวลผลข้อมูล และ แจ้งเตือน
นิยามผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หมายถึง • ผู้ป่วยที่มีอาการอย่างน้อย 2 อาการ ได้แก่ ไข้ (T>38 C) ไอ น้ำมูกไหล เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อ หรือ - ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นทางเดินหายใจช่วงบนอักเสบ (Acute respiratory tract infection) เช่น หวัด คออักเสบ หลอดลมอักเสบ ซึ่งสามารถลงรหัสโรคด้วย ICD-10 ได้แก่ J00 (J00.00– J00.99), J02.9, J06.9 หรือ • ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นไข้หวัดใหญ่ (Influenza) รหัสโรค ICD-10 ได้แก่ J09 (J09.00 – J09.99), J10 (J10.00 – J10.99), J11 (J11.00 – J11.99)
นิยามจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับบริการ หมายถึง • จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่รับบริการตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก จากทุกกลุ่มงานในสถานพยาบาล • ยกเว้น ผู้ใช้บริการในส่วนแพทย์แผนไทย และผู้ใช้บริการในสถานพยาบาลที่ไม่ได้รับการตรวจรักษา
Flow ระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ และการตอบสนอง ลงทะเบียนสมัครสมาชิก เพื่อส่งข้อความผ่านมือถือ ที่ 1677 ลงทะเบียนสมัครสมาชิก เพื่อส่งข้อมูล และเข้าดูข้อมูลออนไลน์ผ่านเวปไซด์ http://164.115.5.58/ILI กำหนดสมาชิกแต่ละหน่วยงาน รับรหัสสมาชิก (Hcode) และ Passwordผ่านทางอีเมลล์ สำหรับผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด ส่งข้อความจำนวนครั้งผู้ป่วย สัปดาห์ละครั้ง บันทึกข้อมูลผ่านทางเวปไซด์ สัปดาห์ละครั้ง ในตารางบันทึก หน.หน่วยงานพิจารณามาตรการควบคุมและป้องกันโรคเพิ่มเติม ระบบวิเคราะห์ข้อมูล แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลออนไลน์ สถานการณ์ปกติ ผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยา ระดับอำเภอ ค้นหาCluster บันทึกข้อมูลผ่านออนไลน์ ระบบแจ้งเฉพาะ งานระบาดวิทยา แนวโน้มเพิ่มขึ้น ขาดส่งข้อมูลรายวัน แต่ละสัปดาห์ ระบบส่งข้อความเตือนตามระดับการเข้าถึงข้อมูลของสมาชิก ระบาดวิทยาจังหวัดและสคร. สนับสนุนค้นหา Cluster
ขั้นตอนลงทะเบียนผ่านเวปไซด์: ผู้ส่งข้อมูลในสถานพยาบาล • กำหนดผู้ส่งข้อมูล ของแต่ละสถานพยาบาลทั้งภาครัฐ และเอกชน • กำหนดรหัสสถานพยาบาล (Hcode) เป็นตัวเลข 8หลัก • รหัสจังหวัด เป็นตัวเลข 2หลักแรก • รหัสพื้นที่/รหัสสถานพยาบาล เป็นตัวเลข 6 หลัก • เปิดเวปไซด์http://164.115.5.58/iliเลือก “สมัครสมาชิกใหม่” และป้อนข้อมูลตามที่กำหนด พร้อมทั้งเบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้ประจำ และ อีเมลล์ เพื่อให้ได้รับข้อความตอบกลับจากระบบฯ เมื่อได้รับข้อมูล • หลังจากสมัครสมาชิก ให้กดเลือก “Enable”และจะได้รับ Passwordจากอีเมลล์ตอบกลับถึงผู้ส่งข้อมูล • ผู้ส่งข้อมูลสามารถเข้าดูข้อมูลผ่านเวปไซด์และแก้ไขข้อมูลได้
ตารางบันทึกจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่รายวันตารางบันทึกจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่รายวัน สัปดาห์ที่ ................
ขั้นตอนการส่งข้อมูลออนไลน์ผ่านเวปไซด์ขั้นตอนการส่งข้อมูลออนไลน์ผ่านเวปไซด์ เปิดหน้าเวปไซด์ http://164.115.5.58/ILI บันทึกข้อมูลจำนวนครั้งผู้ป่วย แต่ละวันและเลือก “จัดเก็บ” ป้อนรหัสสมาชิก (Hcode) และใส่Password ของท่าน ตรวจสอบข้อมูลที่จัดเก็บได้ เลือก “วิเคราะห์ข้อมูล” ตรวจสอบชื่อ สถานพยาบาล และจังหวัด ของท่าน จังหวัด ตรวจสอบสัญญาณเตือน จากสถานพยาบาลรอบสัปดาห์ เลือก “สัญญาณเตือน” เลือก “ป้อนข้อมูลใหม่” เลือก “สัปดาห์ที่” ลงข้อมูล
ขั้นตอนการส่งข้อความผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ขั้นตอนการส่งข้อความผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ลงทะเบียนเพื่อส่งข้อความ ใส่ SIM card ที่มอบให้แต่ละสถานพยาบาล รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยรายวัน เลือกเมนู “เขียนข้อความ” พิมพ์ รหัสสถานพยาบาล ส่งข้อความ ไปที่ 1677 ก่อนส่งข้อมูลครั้งแรกเท่านั้น ใช้ SIM cardที่ลงทะเบียน ส่งข้อมูล 1วันต่อ 1ข้อความ ส่งข้อความไปที่ 1677 เช่นเดียวกับขั้นตอน ลงทะเบียน และส่ง ข้อความจนครบ 7วัน เป็น 7ข้อความ เลือกเมนู “เขียนข้อความ” พิมพ์ “รหัสสถานพยาบาล” ตามด้วย “วันวันเดือนเดือน” และตามด้วย “จำนวนครั้งผู้ป่วย ILI / จำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมด” ที่มารับบริการในวันที่ข้างต้น (รูปแบบตามที่กำหนด)
กำหนดรูปแบบข้อความรายวันส่งผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่กำหนดรูปแบบข้อความรายวันส่งผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อความสั้น (Short Message) ส่งผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ประกอบด้วย • รหัสสถานพยาบาล (Hospital code) เป็นตัวเลข 8 หลัก • วันที่ที่ผู้ป่วยมารับบริการ (วันวัน – เดือนเดือน) เป็นตัวเลข 4 หลัก • จำนวนครั้งผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (หรือรหัส ICD-10: J00, J02.9, J06.9, J09, J10, J11) • จำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่มารับบริการตรวจรักษาในวันเดียวกัน * กรณีไม่มีผู้ป่วยอาการคล้ายหวัดใหญ่ ให้ใส่เลข “0” ตัวอย่าง 41011024 0301 16/253 “41011024” หมายถึง จ.อุดรธานี-โรงพยาบาลน้ำโสม “0301” หมายถึง วันที่ 3 มกราคม 2553 (วันที่เดือน) “16/253” หมายถึง จำนวนครั้งผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ 16 ครั้ง / จำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่มารับบริการตรวจรักษา 253 ครั้ง
ข้อความเตือนกรณีต่างๆข้อความเตือนกรณีต่างๆ
ข้อพิจารณา เมื่อพบสัดส่วนผู้ป่วย ILI มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น • ค้นหา Cluster โดยใช้หลักการ Time-Place -Person (Scan) • กำหนดช่วงเวลาค้นหาข้อมูลผู้ป่วย 2 สัปดาห์ – 1 เดือนก่อน • พิจารณา Attack rate ในแต่ละตำบล หรือหมู่บ้านก่อน ต่อมารายครอบครัว • ค้นหาผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่อำเภอนั้นๆ • สามารถแพร่โรคได้เร็วเช่น กลุ่มเด็กนักเรียน คนงานในโรงงาน • มีภาวะเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนสูงเช่น ผู้สูงอายุ >65ปี หญิงตั้งครรภ์ อ้วนมาก • ดำเนินการสอบสวนโรค และสุ่มเก็บตัวอย่าง Throat swab จากผู้ที่กำลังป่วยด้วย ILI ตรวจทางห้องปฏิบัติการฯ เพื่อยืนยันการระบาดของโรค จำนวน 5 ตัวอย่าง/กลุ่ม • ควบคุมและป้องกันโรคในพื้นที่เสี่ยง
ระยะเวลาดำเนินการระบบเฝ้าระวังฯระยะเวลาดำเนินการระบบเฝ้าระวังฯ • ระยะแรก ดำเนินการระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน 2553 • ประเมินระบบเฝ้าระวังฯ หลังดำเนินการ 3เดือน • ส่งข้อคิดเห็น หรือข้อบกพร่อง ผ่านทางเวปไซด์ หรือ chakrarat@gmail.com