1.81k likes | 2.24k Views
ICF. คู่มือมาตรฐานกลางประเมินความสามารถตามประเภทความพิการและให้ รหัส ICF. นายแพทย์พิชิตพงษ์ อริยะวงศ์ นายแพทย์เชี่ยวชาญ 17/06/13. ICF. ICF. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงาน ปลัดกระทรวง สาธารณสุข. ICF.
E N D
ICF คู่มือมาตรฐานกลางประเมินความสามารถตามประเภทความพิการและให้รหัส ICF นายแพทย์พิชิตพงษ์ อริยะวงศ์ นายแพทย์เชี่ยวชาญ 17/06/13
ICF • สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ICF • สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์
ICF • ดำเนินการพัฒนาและจัดทำคู่มือมาตรฐานกลางประเมินความสามารถตามประเภทความพิการและให้รหัส ICF
ICF • International Classification of Functioning Disability and Health
ICF • International Classification of Functioning Disability and Health
ICF • International Classification of Functioning Disability and Health
ICF • International Classification of Functioning Disability and Health
ICD 10 • International Classification of disease and Related Health Problems, 10th Revision, ThaiModification
ICD 10 • International Classification of disease and Related Health Problems, 10th Revision, ThaiModification
ICD 10 • International Classification of disease and Related Health Problems, 10th Revision, ThaiModification
ICD 10 • ในปัจจุบันสถานพยาบาลต่างๆ บันทึกการวินิจฉัยโรคด้วยรหัส ICD ซึ่งแสดงให้เห็นสถานะของความเจ็บป่วยเท่านั้น
ICD 10 • ในปัจจุบันสถานพยาบาลต่างๆ บันทึกการวินิจฉัยโรคด้วยรหัส ICD ซึ่งแสดงให้เห็นสถานะของความเจ็บป่วยเท่านั้น
ICF • ในปี พ.ศ. 2543 องค์การอนามัยโลกได้ให้การรับรองรหัส ICF
ICF • ในปี พ.ศ. 2543 องค์การอนามัยโลกได้ให้การรับรองรหัส ICF เพื่อใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับการสื่อสารข้อมูลด้านสถานะสุขภาพระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในด้านสาธารณสุขและสังคม
ICF • ในปี พ.ศ. 2543 องค์การอนามัยโลกได้ให้การรับรองรหัส ICF เพื่อใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับการสื่อสารข้อมูลด้านสถานะสุขภาพระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในด้านสาธารณสุขและสังคม
ICF • ในปี พ.ศ. 2543 องค์การอนามัยโลกได้ให้การรับรองรหัส ICF เพื่อใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับการสื่อสารข้อมูลด้านสถานะสุขภาพระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในด้านสาธารณสุขและสังคม
ICF • ในปี พ.ศ. 2543 องค์การอนามัยโลกได้ให้การรับรองรหัส ICF เพื่อใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับการสื่อสารข้อมูลด้านสถานะสุขภาพระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในด้านสาธารณสุขและสังคมรวมทั้งสามารถใช้เปรียบเทียบข้อมูลระหว่างประเทศได้
ICD ICF • ดังนั้นการบันทึกข้อมูลด้วยรหัส ICF ร่วมกับรหัส ICD จะสามารถแสดงภาพรวมของสถานะสุขภาพของประชากรได้เป็นอย่างดี
ICF • คือ บัญชีสากลเพื่อการจำแนกการทำงาน ความพิการและสุขภาพ ให้เหมาะสมกับการใช้งานด้านความพิการในประเทศไทย
ICF • คือ บัญชีสากลเพื่อการจำแนกการทำงาน ความพิการและสุขภาพ ให้เหมาะสมกับการใช้งานด้านความพิการในประเทศไทย
ICF • เพื่อประโยชน์และเป็นเครื่องมือทางสถิติ ด้านการวิจัย ด้านการบำบัดรักษา ด้านการวางนโยบายทางสังคม และด้านการศึกษา
ICF • เพื่อประโยชน์และเป็นเครื่องมือทางสถิติ ด้านการวิจัย ด้านการบำบัดรักษา ด้านการวางนโยบายทางสังคม และด้านการศึกษา ตลอดจนสามารถวิเคราะห์ข้อมูล ประสานและเชื่อมโยงข้อมูลได้ในระดับประเทศ
ICF • ทำให้การบริหารจัดการในระบบสุขภาพด้านความพิการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ICF • ทำให้การบริหารจัดการในระบบสุขภาพด้านความพิการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • โดยแต่งตั้งคณะทำงานประกอบด้วยหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำคู่มือมาตรฐานกลางประเมินความสามารถตามประเภทความพิการและให้รหัส ICF
คำสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 760 / 2554 • คณะทำงานการพัฒนามาตรฐานกลางบัญชีสากลเพื่อการจำแนกการทำงาน ความพิการ และสุขภาพ (ICF)ประกอบด้วย
คณะทำงาน • 1. นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ที่ปรึกษา • 2. นพ. ณรงค์ กษิติประดิษฐ์ รองผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ที่ปรึกษาและ ผอ.กลุ่มภารกิจด้านข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศสุขภาพ
คณะทำงาน • 3. รศ.นพ. วิทยา ศรีดามา ผู้แทนราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ประธาน
คณะทำงาน • 4. พญ. ดารณี สุวพันธ์ ผอ.ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ รองประธาน • 5. ผศ.นพ. วรรษา เปาอินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองประธาน
คณะทำงาน • 6. พญ. เบญจพร ปัญญายงค์ กลุ่มที่ปรึกษา กรมสุขภาพจิต คณะทำงาน • 10. พญ. ปัทมา ศิริเวช สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา คณะทำงาน
คณะทำงาน • สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี • โรงพยาบาลราชวิถี • โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • สำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ
คณะทำงาน • สำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ • ผู้แทนราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย • ผู้แทนราชวิทยาลัยโสตศอนาสิกแพทย์แห่งประเทศไทย
คณะทำงาน • 20. ดร. มะลิวัลย์ ยืนยงสุวรรณ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะทำงานและเลขานุการ
คณะทำงาน • 21. พญ. ชมพูนุช พงษ์อัคศิรา ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ คณะทำงานและเลขานุการร่วม • 22. น.ส. ปรีติ สำราญทรัพย์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2554
คณะทำงาน • 21. พญ. ชมพูนุช พงษ์อัคศิรา ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ คณะทำงานและเลขานุการร่วม • 22. น.ส. ปรีติ สำราญทรัพย์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2554
คำสั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ ๙๒๑ / ๒๕๕๕ • รายชื่อคณะทำงานและที่ปรึกษา เพิ่มเติม • ๑. นายกิตติ กรรภิรมย์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ที่ปรึกษา
คำสั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ ๙๒๑ / ๒๕๕๕ • รายชื่อคณะทำงานและที่ปรึกษา เพิ่มเติม • ๒. พันเอกหญิงพนมวัลย์ บุณยมานพ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ คณะทำงาน • ๓. นายทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา สถาบันราชานุกูล คณะทำงาน ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕
คณะทำงาน มีบทบาทและหน้าที่ดังนี้ • 1. คัดเลือกรหัส ICF ที่มีความเหมาะสมกับลักษณะของผู้พิการในประเทศไทย • 2. ศึกษาและออกแบบโครงสร้างการให้รหัส ICF ที่สามารถเชื่อมโยงกับรหัสโรค ICD‐10‐TM ได้
คณะทำงาน มีบทบาทและหน้าที่ดังนี้ • 3. พิจารณาแนวทางการดำเนินการพัฒนามาตรฐานผู้พิการให้เหมาะสมสำหรับการใช้งานในประเทศไทย รวมถึงการวางแผนและจัดระบบเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ
คณะทำงาน มีบทบาทและหน้าที่ดังนี้ • 4. พัฒนา ปรับปรุง และจัดทำมาตรฐานกลางบัญชีสากลเพื่อการจำแนกการทำงาน ความพิการ และสุขภาพ (ICF) ฉบับการใช้งานในประเทศไทย
คณะทำงาน มีบทบาทและหน้าที่ดังนี้ • 5. อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ICF คู่มือฉบับนี้ ประกอบด้วยเนื้อหาหลักๆ คือ • 1) หลักเกณฑ์การกำหนดความพิการแต่ละด้าน
ICF คู่มือฉบับนี้ ประกอบด้วยเนื้อหาหลักๆ คือ • 2) รหัส ICF ที่คัดเลือกสำหรับการใช้งานในประเทศไทย เชื่อมโยงกับรหัสโรค ICD-10-TM
ICF คู่มือฉบับนี้ ประกอบด้วยเนื้อหาหลักๆ คือ • 2) รหัส ICF ที่คัดเลือกสำหรับการใช้งานในประเทศไทย เชื่อมโยงกับรหัสโรค ICD-10-TM (International classification of disease and Related Health Problems, 10th Revision, Thai Modification)
ICF คู่มือฉบับนี้ ประกอบด้วยเนื้อหาหลักๆ คือ • 3) หลักเกณฑ์ประเมินความพิการแต่ละด้าน
ICF • ICF ประกอบด้วยกลุ่มรหัสข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ แบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่
ICF • ก. รหัสการทำงานของร่างกายและความพิการ แบ่งออกเป็น การทำงานหรือโครงสร้างของร่างกาย(Body functions/structures) การทำกิจกรรมและการมีส่วนร่วม (Activities and participation)
ICF • ข. รหัสปัจจัยแวดล้อม (Contextual factors) ซึ่งส่งผลต่อการทำงานของร่างกายและความพิการ แบ่งออกเป็น ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental factors) และปัจจัยส่วนบุคคล (Personal factors)