430 likes | 503 Views
Learn about the prevalence of cervical cancer in Thailand from 2013-2015, risk factors, HPV connection, stages, and prevention strategies.
E N D
Anchalee Chainual, MD.Gynecologic oncologyNakornping hospital Cervical Cancer
Cancer Situation in Thailand (Female ) (Yrs. 2013-2015)
Cervical Cancer of Thailand Chiang Mai = 14 Lampang = 14.1 Khon Kaen = 8.8 Bangkok = 9.8 THAILAND = 11.7/100,000 Songkhla = 10.3 age-standardized incidence rate (ASR per 100,000 : 2013-2015)
มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับสามในมะเร็งของเพศหญิง รองจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งตับ • พบมากในช่วงอายุ 30 – 50 ปี • ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกอยู่ใน • ประเทศกำลังพัฒนา • สำหรับประเทศไทย มะเร็งปากมดลูกพบมากที่สุดใน • ภาคเหนือของประเทศ • มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถป้องกันได้และสามารถ • ตรวจคัดกรองหาความผิดปกติได้ก่อน ซึ่งการรักษาได้ผลดี
ปากมดลูก (Cervix) เป็น Fibromuscular tissue ส่วนล่างสุดของมดลูก ยาวประมาณ 2-3 cm. เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 2.5 cm. อยู่ติดกับช่องคลอดส่วนบน
สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก สาเหตุสำคัญของมะเร็งปากมดลูกคือ : การติดเชื้อไวรัสฮิวแมนแพปพิลโลมา (Human Papilloma virus) หรือ เอชพีวี (HPV) บริเวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะบริเวณปากมดลูก :HPV ที่พบว่าเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูกมาก ที่สุดคือชนิดที่ 16 และ 18
Double-stranded DNA 55 nm diameter Human Papilloma Virus 8,000 base-pair genome 72 capsomers 8 genes(E1,E2,E4,E5,E6,E7,L1,L2)
ปัจจุบันพบ HPV มากกว่า 100 สายพันธุ์ มีประมาณ 40 สายพันธุ์ ที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อของเนื้อเยื่อบริเวณ ano–genital area แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ชนิดความเสี่ยงสูง หรือชนิดก่อมะเร็งได้แก่สายพันธุ์ HPV 16,18,31,33,35,39,45,51,52,56,58,59,68 และ 82 โดยสายพันธุ์ที่ก่อปัญหามากที่สุดคือ HPV 16 และรองลงมาคือ HPV 18 2. ชนิดความเสี่ยงต่ำ ก่อให้เกิดหูดหงอนไก่ (Genital Warts) บริเวณ ano–genital ได้แก่สายพันธุ์ HPV 6,11,40,42,43,44,54,61,72,73 และ 81 ที่พบบ่อยคือ HPV 6 และ HPV 11
Oral pills Multiparity Multiple sex partners (male & female) Early age of S.I. Smoking Cause of Cervical Cancer Co-factors Immunosuppression Persistent Infection of Oncogenic HPV (16,18,31,33,45,etc)
มะเร็งปากมดลูก From IARC, 2003.1
ระยะของมะเร็งปากมดลูกระยะของมะเร็งปากมดลูก แบ่งเป็น - ระยะก่อนเป็นมะเร็ง (Precancerous lesion) : HSIL, LSIL, CIN, - มะเร็ง (Cancer) : แบ่งเป็น 4 ระยะ ตามการลุกลาม Stage I – Stage IV
ระยะก่อนเป็นมะเร็ง หมายถึง มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ปากมดลูกที่ผิดปกติ (Dysplasia) ที่บริเวณผิวของปากมดลูก ซึ่งแบ่งเป็น • Mild dysplasia (CIN I, LSIL) • Moderate dysplasia (CIN II, HSIL) • Severe dysplasia (CIN III, HSIL) ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 10-15 ปี จึงจะกลายเป็นมะเร็งปากมดลูก ระยะก่อนเป็นมะเร็งสามารถรักษาได้
มะเร็งระยะลุกลาม แบ่งออกเป็น 4 ระยะย่อย คือ - ระยะที่ 1 มะเร็งลุกลามอยู่ภายในปากมดลูก - ระยะที่ 2 มะเร็งลุกลามไปที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูก และ/หรือผนังช่องคลอดส่วนบน - ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามไปที่ด้านข้างของเชิงกรานและ/ หรือผนังช่องคลอดส่วนล่าง หรือกดท่อไตจนเกิดภาวะไตบวมน้ำ - ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามไปที่กระเพาะปัสสาวะ ไส้ตรง หรืออวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด กระดูก และต่อมน้ำเหลืองนอกเชิงกราน เป็นต้น
การรักษามะเร็งปากมดลูกการรักษามะเร็งปากมดลูก • แบ่งวิธีการรักษามะเร็งปากมดลูกตามระยะของมะเร็งได้ดังนี้ • 1. ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม รักษาได้หลายวิธีได้แก่ • - การตรวจติดตามอย่างใกล้ชิด รอยโรคขั้นต่ำบางชนิด • สามารถหายไปได้เองภายใน 1-2 ปี ภายหลังการตัดเนื้อตรวจ • - การตัดปากมดลูกด้วยห่วงไฟฟ้า (LEEP) • - การจี้ปากมดลูกด้วยความเย็น (Cryotherapy) • - การจี้ด้วยเลเซอร์ • - การตัดปากมดลูกออกเป็นรูปกรวยด้วยมีด (CKC)
2. ระยะลุกลาม • การเลือกวิธีรักษาขึ้นกับโรคประจำตัวของผู้ป่วย ระยะของมะเร็ง และความพร้อมของโรงพยาบาลหรือแพทย์ผู้ดูแลรักษา • 2.1 ระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 บางราย รักษาโดยการตัดมดลูก • ออกแบบกว้างร่วมกับการเลาะต่อมน้ำเหลืองเชิงกรานออก • 2.2 ระยะที่ 2 ถึงระยะที่ 4 รักษาโดยการฉายรังสีร่วมกับการให้ • ยาเคมีบำบัด
การผ่าตัดมะเร็งปากมดลูกการผ่าตัดมะเร็งปากมดลูก
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 1. VIA 2.Conventional Papanicolaou test (Pap smear) 3. Liquid-based cytology 4. Colposcopy 5.HPV test
ความไว 50% ผลลบลวง 15-30% Pap Smear แบบมาตรฐาน Pap smear and Liquid-base cytology เซลล์วิทยาอิงของเหลว (liquid-based cytology) ความไว 75-85% ผลลบลวง 2%
การเก็บตัวอย่างเซลล์วิทยา อิงของเหลว
Cervical samples(liquid-based cytology) Abnormal cytology managed according to study protocol algorithms: either repeat liquid-based cytology (LBC) or refer to colposcopy
ข้อดีของเซลล์วิทยาอิงของเหลวข้อดีของเซลล์วิทยาอิงของเหลว 1. เก็บเซลล์ตัวอย่างในน้ำยารักษาสภาพเซลล์ 2. เซลล์เรียงตัวเป็นระเบียบชั้นเดียว 3. ไม่มีมูก เลือด เนื้อเยื่อตายมาบังเซลล์ 4. ทำซ้ำได้ 5-10 ครั้ง 5. การแปลผลใช้เวลาไม่นาน (3 - 6 นาที)
Detect high risk HPV HPV 16, 18 And 12 High risk types
Vaccine HPV ในการป้องกันมะเร็งปากมดลูก • วัคซีนที่ใช้กันอยู่ในตอนนี้มี 2 ชนิด คือ • วัคซีน 4 สายพันธุ์ (Quadrivalent vaccine: • 6,11,16,18) • วัคซีน 2 สายพันธุ์ (Bivalent vaccine:16,18)
Quadrivalent: 16,18,6,11 Bivalent: 16,18
ประสิทธิภาพของวัคซีน • มีประสิทธิภาพสูงโดยถ้าฉีดในผู้ที่ไม่เคยติดเชื้อ HPV มาก่อน • หรือหญิงสาวที่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก • วัคซีนสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ถึงร้อยละ 90-96 • ประสิทธิภาพลดลงในกลุ่มที่เคยติดเชื้อหรือกำลังติดเชื้อ HPV อยู่
การฉีดวัคซีน 1. ควรฉีดในเด็กสาวที่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ 2. อายุที่สมควรฉีดคือ 9-26 ปีในเพศหญิง และอายุ 9-17 ปี ในเพศชาย 3. สำหรับสตรีที่เคยมีเพศสัมพันธ์แล้วควรตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกก่อน ถ้าผลปกติสามารถฉีดวัคซีนได้ ถ้าผลผิดปกติให้ดูแลรักษาตามมาตรฐานและฉีดวัคซีนได้แต่ ประสิทธิภาพของวัคซีนจะลดลง 4. ฉีด 3 ครั้งเข้ากล้ามเนื้อ เดือนที่1 เดือนที่2 และเดือนที่6 5. วัคซีนสามารถป้องกันการติดเชื้อ HPV ได้นานอย่างน้อย 10 ปี 6. การฉีดวัคซีนเพื่อกระตุ้นซ้ำ (booster) ยังไม่มีข้อมูลว่าสมควรฉีดเมื่อไหร่ 7. ควรเลี่ยงการฉีดวัคซีนในผู้ที่มีอาการป่วยอยู่ 8. ห้ามฉีดวัคซีนในผู้ที่มีประวัติแพ้ส่วนประกอบของวัคซีน
Co-Test (Cyto+HPV)