510 likes | 933 Views
GIS: Geographic Information System. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์. คือระบบสารสนเทศที่สามารถบันทึก จัดเก็บ จัดการ วิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์เชิงพื้นที่ (Spatial Data)
E N D
GIS: Geographic Information System ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
คือระบบสารสนเทศที่สามารถบันทึก จัดเก็บ จัดการ วิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์เชิงพื้นที่ (Spatial Data) • เป็นเทคโนโลยีที่จัดเก็บข้อมูลแผนที่ไว้เป็นฐานข้อมูลดิจิตอล และมีฟังก์ชันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการ สืบค้น ประมวลผล วิเคราะห์ข้อมูลแผนที่ร่วมกับฐานข้อมูลตารางต่าง ๆโดยมีตำแหน่ง/ขอบเขต ที่สามารถอ้างอิงได้บนแผนที่ Graphics • เป็นเครื่องมือช่วยจัดการ วิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์ ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในกิจการต่าง ๆ ที่หลากหลายได้มาก • การนำเอาระบบข้อมูลเพื่อการบริหาร (MIS) มานำเสนอร่วมกับแผนที่ (Map) เพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์หาความต้องการในระดับพื้นที่
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS : Geographic Information System) คือ เครื่องมือที่มีความสามารถที่มีประโยชน์สำหรับ • จัดเก็บรวบรวมข้อมูล (Data capture) • เก็บบันทึก/เรียกค้นข้อมูล (Data storage and retrieval) • วิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) • แสดงผลข้อมูล (Data display)
GIS สำคัญอย่างไร? • มนุษย์ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ บนโลก เพื่อบริหารจัดการทรัพยากร แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม และวางแผนพัฒนาความเป็นอยู่ • ข้อมูลตำแหน่งที่ตั้งของสิ่งหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนโลก นับเป็นปัจจัยสำคัญต่อการตัดสินใจของมนุษย์ • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ช่วยให้มีฐานข้อมูลภูมิศาสตร์ที่ครบถ้วน ถูกต้องและทันสมัย จัดเก็บอยู่ในรูปแบบฐานข้อมูลดิจิตอล • ช่วยให้มีการจัดการ วิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจ และนำเสนอในรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS : Geographic Information System) • องค์ประกอบ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) 2 คอมพิวเตอร์ (Hardware) 3 โปรแกรม (Software) 4 บุคลากร (User/People) 5 วิธีการทำงาน(Methodologyหรือ Procedure)
Z Y X X3,y3,(z3) X2,y2,(z2) X3,y3,(z3) b c X1,y1,(z1) b a X2,y2,(z2) a d X1,y1,(z1) X4,y4,(z4) X1,y1,(z1) 1.Data ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์แบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ Vector และ Raster 1.1 Vector Dataคือข้อมูลที่ประกอบด้วยจุดพิกัดทางแนวราบ (X,Y) และ/หรือ แนวดิ่ง (Z)
Data X1,y1,(z1) จุด(Point Feature)ตำแหน่งพิกัดที่ไม่มีขนาดและทิศทาง จุดที่ตั้งโรงเรียน วัด มัสยิด โรงพยาบาล สถานีอนามัย บ่อบาดาล สถานที่สำคัญ เป็นต้น
เส้น(Line Feature)มีระยะและทิศทางระหว่างจุดเริ่มต้น ไปยังจุดแนวทาง (Vector) และจุดสิ้นสุด แต่ไม่มีความกว้าง a b Data ถนนเห็นเป็นแนวเส้นบนแผนที่มาตราส่วนใหญ่ เมื่อแผนที่มีมาตราส่วนเล็กลง อาจเห็นความกว้างของถนนเป็นรูปหลายเหลี่ยม (Polygon)
เส้นรูปปิด(Polygon Feature)มีระยะและทิศทางระหว่างจุดเริ่มต้น จุดแนวทาง (Vector) และจุดสิ้นสุด ที่ประกอบกันเป็นรูปหลายเหลี่ยมมีขนาดพื้นที่ (Area) และเส้นรอบรูป (Perimeter) b c a d Data ขอบเขตการปกครองหรือพื้นที่มีขนาดที่สามารถแสดงเป็น เส้นรูปปิด (Polygon Feature) ได้บนแผนที่ระดับจังหวัด
1.2 Raster Dataเป็นข้อมูลที่อยู่บนพิกัดรูปตารางแถวนอนและแถวตั้ง แสดงรายละเอียดของข้อมูลขึ้นอยู่กับขนาดของเซลล์ ณ จุดพิกัดที่ประกอบขึ้นเป็นฐานข้อมูลแสดงตำแหน่งชุดนั้น Raster Data อาจแปรรูปมาจากข้อมูล Vector หรือแปรจาก Raster ไปเป็น Vector แต่เห็นได้ว่า จะมีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นระหว่าง การแปรรูปข้อมูล Cell
ID No. ชื่อ ประชากรชาย หญิง เด็ก พื้นที่ อาชีพหลัก โรงเรียน รายได้ประชากร 1123 บ้านกวางร้อง 442 545 235 3457 ทำนา วัดกวางร้อง 7500 เมื่อข้อมูล Spatial Featureถูกสร้างขึ้นในระบบคอมพิวเตอร์สารสนเทศภูมิศาสตร์ ก็จะมีรายละเอียดเฉพาะตัวของข้อมูลนั้นๆเกิดขึ้นด้วย เช่นหมายเลขประจำตัวข้อมูล (Identification Number หรือ Record Number) ค่าจุดพิกัดในระนาบต่างๆ ข้อมูลเชิงอธิบายเหล่านี้บรรจุอยู่ในรูปตารางที่ระบุคุณสมบัติ Attribute เช่น ตารางข้อมูลของหมู่บ้าน อาจประกอบด้วยรายละเอียดกายภาพต่างๆ ที่ผู้จัดทำข้อมูลต้องการระบุไว้สำหรับหมู่บ้านแห่งนี้
GPS (Global Positioning System) • เป็นระบบดาวเทียมที่พัฒนาโดยกองทัพสหรัฐฯใช้หาตำแหน่งพิกัดบนพื้นผิวโลกโดยเครื่องรับสัญญาณที่มีความละเอียดแตกต่างกัน • ความละเอียดถูกต้องของข้อมูล GPS อาจได้ถึงระดับมิลลิเมตรแต่เครื่องขนาดเล็กทั่วๆไป (ราคาระดับหมื่นบาท) จะมีความถูกต้องในเกณฑ์ 10-20 เมตร • ทำให้สามารถรังวัดหาพิกัดตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้นมาก เกิดการปรับปรุง เพิ่มเติมข้อมูล ในฐานข้อมูล GIS ให้ทันสมัย
2.Hardware • เป็นอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้กับโปรแกรม GIS อุปกรณ์นี้รวมถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการนำเข้า การประมวลผล และการแสดงผลข้อมูล และผลิตผลลัพธ์ของการทำงาน เช่น • Computer • Digitizer, Scanner, GPS • Plotter, Printer
3.Software • คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลในระบบ GIS เช่น • Arc/Info เป็นโปรแกรมที่ทำงานได้ทั้ง บนเครื่องที่มีระบบปฏิบัติการ PC, UNIX, และ NT version • ArcView เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ Display ข้อมูล ทั้งที่เป็น Graphic และ ข้อมูลเชิงบรรยาย โปรแกรมนี้สามารถใช้ในการวิเคราะห์เบื้องต้นได้ • R2V เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการนำเข้าข้อมูลโดยวิธีการ Scan/ Vectorize • ERDAS เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลและวิเคราะห์ข้อมูล Raster • PAMAP เป็นโปรแกรมที่ใช้งานได้กับข้อมูล Vector
4.People People หรือ บุคลากร • เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของ GIS เนื่องจากถ้าขาดบุคลากรก็จะไม่มีการพัฒนาโปรแกรม อุปกรณ์ หรือข้อมูลที่มีคุณภาพ “ไม่มีบุคลากร ไม่มี GIS”
วิธีการทำงานของระบบ แผนที่ต่าง ๆ เขตจังหวัด อำเภอ + DATABASE ไม่มีการกำหนด Criteria (Union) ถนน + DATABASE แม่น้ำ ลำคลอง + DATABASE กำหนด Criteria เพื่อการวิเคราะห์ ( Intersection ) แหล่งน้ำใต้ดิน + DATABASE จุดที่ตั้งบ่อบาดาล + DATABASE แผนที่แสดงผลการวิเคราะห์ (x,y) Co-ordinate Map Overlay
ประเด็นการใช้งาน GIS ในงานสาธารณสุข • การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา • การกระจายของการตาย • การกระจายของการป่วย • การกระจายของอุบัติเหตุ อุบัติภัย • การกระจายของปัจจัยเสี่ยง • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงกับ ผลลัพธ์สุขภาพ • การวิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพ • การกระจายของทรัพยากรสุขภาพ • การกระจายของสมรรถนะบริการสุขภาพ • การวิเคราะห์การเข้าถึงบริการ
วิธีการใช้งาน GIS ในงานสาธารณสุข • การวิเคราะห์การกระจายทางภูมิศาสตร์ของข้อมูลด้านสาธารณสุข ที่สัมพันธ์กับพื้นที่ขอบเขตการปกครอง / การบริหาร / ภูมิศาสตร์ • ข้อมูลระดับภาค ระดับเขต ประเทศ • ข้อมูลระดับจังหวัด • ข้อมูลระดับอำเภอ • ข้อมูลระดับตำบล • ข้อมูลระดับหมู่บ้าน
การแสดงผลข้อมูล • การแสดงข้อมูล • Graduated color (สีของพื้นที่) • (polygon) • Graduated symbol (ขนาดและสีของจุด) • (point หรือตำแหน่ง centroid ของ polygon) • Dot density (จำนวนจุด, ตำแหน่งจุด random) • (polygon) • Chart (แนวโน้ม (bar), สัดส่วน (pie)) • (polygon หรือ point)
การประยุกต์ใช้ GIS ในงานสาธารณสุขของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ประเทศไทย ปี พ.ศ.2548 ( ตั้งแต่ 2 มกราคม - 20 สิงหาคม 2548) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
สถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ประเทศไทย ปี พ.ศ.2548 ตั้งแต่ 2 มกราคม - 31 กรกฎาคม 2548 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แผนที่แสดงอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำแนกรายอำเภอ ปี พ.ศ. 2548** (ข้อมูลตั้งแต่ 2 มกราคม – 25 สิงหาคม 2548) ผู้ป่วย 131 ราย อัตราป่วย 28.69 ต่อ ปชก.แสนคน ที่มา : รง.506 / 507 *ณ วันที่ 29 ส.ค. 2548 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค สสจ.ยะลา
แผนที่แสดงอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียจำแนกรายอำเภอ ปี พ.ศ. 2548** (ข้อมูลตั้งแต่ 2 มกราคม – 29 สิงหาคม 2548) ที่มา : รง.506 / 507 *ณ วันที่ 29 สค. 2548 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค สสจ.ยะลา
แผนที่แสดงผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียจำแนกรายหมู่บ้านแผนที่แสดงผู้ป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียจำแนกรายหมู่บ้าน เปรียบเทียบรายเดือน (กรกฎาคม – สิงหาคม 2548) กรกฎาคม สิงหาคม ที่มา : รง.506 / 507 *ณ วันที่ 29 สค. 2548 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค สสจ.ยะลา
อัตราป่วยด้วยโรคไข้ปวดข้อยุงลายจำแนกรายอำเภอ จังหวัดยะลา ปี พ.ศ. 2552* (ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม – 15 มิถุนายน 2552) ที่มา : รง.506 / 507 *ณ วันที่ 16 มิ.ย. 2552 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค สสจ.ยะลา
จัดอันดับหมู่บ้านที่มีผู้ป่วยสูง 10 ลำดับแรกของอำเภอเมืองยะลา ปี พ.ศ.2552 (1 มกราคม – 29 พฤษภาคม 2552) ที่มา : รง.506 / 507 *ณ วันที่ 29 พฤษภาคม 2552 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค สสจ.ยะลา
หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยเกิน 2 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 1 เดือน หมู่บ้านที่พบผู้ป่วยในช่วง 2 สัปดาห์ (2 – 15 มิถุนายน 2552) อำเภอเมือง 15 หมู่บ้าน 52 หมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยภายใน 2 สัปดาห์ หมู่บ้านที่มีผู้ป่วยเกิน 1 เดือน หมู่บ้านที่ยังไม่มีรายงานผู้ป่วย
รายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ทางโทรศัพท์ประจำวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2548 จำนวน 5 ราย จากงานเวชกรรมฯ โรงพยาบาลยะลา เวลา 14.10 น. ดญ.นูรยีฮาน มามะ อายุ 2 ปี บ้านเลขที่ 170/4 ถ.วิฑูรอุทิศ 6 ต.สะเตง เริ่มป่วย 29/มค/48 รับรักษา 2/กพ/48 บ้านเลขที่ 639 ถ.สิโรรส (ร้านขายผ้านารีมาน) 1.ดญ. อิสรีนา แวบา อายุ 8 ปี เริ่มป่วย 28/มค/48 รับรักษา 1/กพ/48 2.ดช.วันซุลกิฟลี แวบา อายุ 11 ปี เริ่มป่วย 28/มค/48 รับรักษา 1/กพ/48 ต.สะเตง ดช.เกรียงไกรยุทธ เรืองประดิษฐ อายุ 10 ปี บ้านเลขที่ 265/12ถ.พงศ์เจริญ (ใกล้สระพันวา) ม.9 ต.สะเตงนอก เริ่มป่วย 25/มค/48 รับรักษา 31/มค/48 ต.สะเตงนอก การดำเนินงานควบคุมโรคในพื้นที่ ทีม SRRT รพ.ยะลา ร่วมกับ สตม.ที่ 12.1 ยะลา จัดทีมลงสอบสวน ควบคุมโรค และพ่นหมอกควันในพื้นที่ วันที่ 3 กพ. 48 เวลา 09.30 น. ดช.อนุวัต ซ้วนล่อง อายุ 10 ปี บ้านเลขที่ 17/3 ถ.ผังเมือง 4 ซอย 8 เริ่มป่วย 27 /มค/48 รับรักษา 1/กพ/48 งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ สสจ.ยะลา
ความคาดหวังของผู้จัดการอบรม GIS • 1. มีผู้เข้ารับการอบรม 100 % (เป้าหมาย 30 คน) • 2. ผู้เข้ารับการอบรมเชื่อมต่อฐานข้อมูลสภาวะสุขภาพกับข้อมูลเชิงพื้นที่ ได้ร้อยละ 80 ( 24 คน) เกิดกระบวนการการเรียนรู้ (KM) • 1.มีการนำความรู้ไปเผยแพร่แบบเพื่อนช่วยเพื่อน (Peer assist) หน่วยงานละ 1-2 คน • 2.มีการสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) • 3.เกิดชุมชนนักปฏิบัติเครือข่ายอำเภอเมือง (Community of Practice: CoP) • 4.มีการทบทวนการปฏิบัติการ (After Action Review:AAR) • 5.มีการสรุปผลการประยุกต์ใช้ มีการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)
ความคาดหวังของผู้เข้ารับการอบรม GIS • 1. ทุกคนสามารถทำได้ • 2. ประยุกต์ใช้ในงานสาธารณสุขได้ • 3. นำเสนอปัญหาได้ • 4. เปรียบเทียบปัญหาในพื้นที่ได้ • 5. นำข้อมูลแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ • 6. เกิดเครือข่าย GIS ของจังหวัด