1 / 19

โดย นายประสิทธิ์ น้อยประดิษฐ์ นักศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ เ รื่อง ปัญหาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามหาสารคาม เขต 1. โดย นายประสิทธิ์ น้อยประดิษฐ์ นักศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา. บทที่ 1 บทนำ. ภูมิหลัง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2542 มาตรา 74

tate-olson
Download Presentation

โดย นายประสิทธิ์ น้อยประดิษฐ์ นักศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เค้าโครงวิทยานิพนธ์ เรื่องปัญหาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดย นายประสิทธิ์น้อยประดิษฐ์ นักศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา

  2. บทที่ 1บทนำ ภูมิหลัง • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 มาตรา 74 • หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 • การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา • กระทรวงศึกษาธิการ มีคำสั่งให้ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั่วประเทศ ในปีการศึกษา 2546

  3. วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาระดับปัญหาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตามความเห็นของข้าราชการครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับปัญหาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ตามความเห็นของข้าราชการครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 จำแนกตามสถานภาพและขนาดโรงเรียน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา

  4. สมมติฐานของการวิจัย 1. ข้าราชการครูที่มีสถานภาพต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหา การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกัน 2. ข้าราชการครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมและ รายด้านแตกต่างกัน

  5. กรอบแนวคิดในการวิจัย การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของกรมวิชาการตามองค์ประกอบใน 7 ด้าน (กรมวิชาการ. 2545 : 21-25) ดังนี้ 1. ด้านการกำหนดวิสัยทัศน์ภารกิจเป้าหมาย 2. ด้านการกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3. ด้านการกำหนดโครงสร้างหลักสูตร 4. ด้านการกำหนดรายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 5. ด้านการกำหนดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 6. ด้านการจัดการเรียนรู้และส่งเสริมการเรียนรู้ 7. ด้านการวัดผลประเมินผล

  6. ขอบเขตการวิจัย ประชากร ข้าราชการครู ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 ปีการศึกษา 2548 จาก 326 โรงเรียน แยกเป็นครู จำนวน 4,087 คน และ ผู้บริหาร จำนวน 326 คน รวมทั้งสิ้น 4,413 คน กลุ่มตัวอย่าง ข้าราชการครู ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามหาสารคาม เขต 1 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 529 คน จาก 177 โรงเรียน แยกเป็น ครูผู้สอน จำนวน 352คน และผู้บริหาร จำนวน 177 คน ได้มาโดยการสุ่มหลายขั้นตอน ตามสัดส่วนของสถานภาพและขนาดโรงเรียน จากทุกอำเภอ

  7. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรต้น • สถานภาพ จำแนกเป็น ผู้บริหาร และ ครู • ขนาดสถานศึกษา จำแนกเป็น ขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ตัวแปรตาม ได้แก่ปัญหาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 ใน 7 ด้าน

  8. นิยามศัพท์เฉพาะ • ปัญหาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา • หลักสูตรสถานศึกษา • ข้าราชการครู • สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน • ขนาดสถานศึกษา • สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1

  9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เป็นสารสนเทศสำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 ในการส่งเสริม พัฒนา การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ให้มีประสิทธิภาพ มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

  10. บทที่ 2เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสารที่เกี่ยวข้อง • หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร • สาระสำคัญบางประการของหลักสูตรการศึกษา พุทธศักราช 2544 • หลักสูตรสถานศึกษา

  11. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • งานวิจัยในประเทศ 10 เรื่อง • งานวิจัยต่างประเทศ 5 เรื่อง

  12. บทที่3วิธีการดำเนินการวิจัยบทที่3วิธีการดำเนินการวิจัย • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย • วิธีสร้างเครื่องมือในการวิจัย • การเก็บรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์ข้อมูล • สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

  13. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ผู้บริหารและครูผู้สอน ปีการศึกษา 2548จำนวน 4,413 คน แยกเป็นครูผู้สอน จำนวน 4,087 คน และ ผู้บริหาร จำนวน 326 คน (สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1. 2548 : 1-6) กลุ่มตัวอย่าง ได้มาโดยเทียบจากตารางของ Krejcie and Morgan ได้จำนวน 529 คน แล้วทำการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน ตามสัดส่วนของสถานภาพและขนาดสถานศึกษา จากทุกอำเภอ ซึ่งมีขั้นตอนการสุ่ม ดังนี้ 1. ผู้บริหารและครู ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 มีทั้งหมด 4,413 คน แยกเป็นครู 4,087 คน และ ผู้บริหาร 326 คน 2. กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยการเทียบจากตารางของ Krejcie and Morgan ได้จำนวนกลุ่มตัว อย่าง 529 คน 3. แบ่งผู้บริหารและครู ในแต่ละอำเภอออกตามขนาดสถานศึกษา คือ ขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ 4. สุ่มอย่างง่าย ผู้บริหาร และครู จากทุกอำเภอตามสัดส่วน จำนวนขนาดสถานศึกษา และสถานภาพ ได้ ผู้บริหาร 177 คน และครู 352คน รวมทั้งสิ้น 529 คน

  14. ตารางแสดงจำนวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างตารางแสดงจำนวนประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตารางที่ 1 จำนวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของผู้บริหารจำแนกตามขนาดโรงเรียน

  15. ตารางที่ 2จำนวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของครูผู้สอนจำแนกตามขนาดโรงเรียน

  16. เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม ความคิดเห็นที่มีต่อสภาพปัญหาการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1 แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จำนวน 35 ข้อ แบ่งเป็น 3 ตอน

  17. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ • ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสูตร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน • ศึกษาวิธีสร้างแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) • สร้างแบบสอบถามขึ้นมา 1 ฉบับ ให้ครอบคลุมกรอบแนวคิดในการวิจัย • นำแบบสอบถามเสนอต่อคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไข • ปรับปรุงแก้ไขตามคณะกรรมการที่ปรึกษาแล้วไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิจารณาตามความเหมาะสม • ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามตามที่ผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะ • นำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับผู้บริหารและครูที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 50 คน เพื่อนำมาหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาตามวิธีของครอนบาค ปรากฏว่าแบบสอบถามมีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .82 • จัดทำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อใช้เก็บรวบรวมข้อมูล

  18. ผู้เชี่ยวชาญ • นายคัมภีร์ สุดแท้ ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนวันครู 2502 อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม การศึกษา คม. การบริหารการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา • นายวีระชัย โสภา ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านดอนก่อกกเหลี่ยม อำเภอแกดำ จังหวัดมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา • นายประสงค์ สกุลซ้ง ครู คศ. 2 โรงเรียนบ้านแกวิทยาคม อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสถิติ

  19. สถิติ • สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สถิติพื้นฐาน ได้แก่ 1.1 ร้อยละ (Percentage) 1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2.สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ใช้การวิเคราะห์ใช้ t-test แบบ Independent sample 3. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม หาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค

More Related