10 likes | 238 Views
www.sepo.go.th. การเคหะแห่งชาติ (กคช.). ข้อมูลทั่วไป. พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. สังกัด : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ประธานกรรมการ : นางพนิตา กำภู ณ อยุธยา กรรมการผู้แทน กค. : นายประสิทธิ์ สืบชนะ
E N D
www.sepo.go.th การเคหะแห่งชาติ (กคช.) ข้อมูลทั่วไป พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518และที่แก้ไขเพิ่มเติม สังกัด : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ประธานกรรมการ : นางพนิตา กำภู ณ อยุธยา กรรมการผู้แทน กค. : นายประสิทธิ์ สืบชนะ Website : www.nhanet.or.th โทร.023517777 • คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย • กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8ตรี) พนักงาน (ม.9) • จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15คน(ม. 6) • การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) • วาระการดำรงตำแหน่ง 3ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง (ไม่ใช้บังคับแก่กรรมการของบริษัทจำกัด) แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) • การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวงการคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12 / 1วรรคหนึ่ง) • การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด ผู้บริหาร (CEO) :นายวิฑูรย์ เจียสกุล สัญญาจ้างลงวันที่ : ระยะเวลาจ้าง : 1พ.ย. 50 – 16เม.ย. 56 วาระที่ 1 วาระที่ 2 ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO: Board รอง CEO บุคคลภายนอก สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลังSTATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง เงินเดือนพนักงาน พระราชบัญญัติการเคหะชาติ พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน • บอร์ดกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง • มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง • ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น • Min-max ของเงินเดือน = 5,780-113,520บาท • จำนวนพนักงาน = 1,865 คน • (31 พ.ค54) วัตถุประสงค์ (มาตรา 6) (1) จัดให้มีเคหะเพื่อให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัย รวมตลอดถึงจัดให้มีสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และ สิ่งอำนวยความสะดวกแก่ผู้อยู่อาศัย ทำนุบำรุง ปรับปรุง และพัฒนาบรรดาเคหะดังกล่าว รวมทั้งพัฒนาผู้อยู่อาศัยให้มีคุณภาพชีวิตที่ขึ้น ทั้งในสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม (2) ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ประชาชนผู้ประสงค์จะมีเคหะของตนเอง หรือแก่บุคคลผู้ประสงค์จะร่วมดำเนินกิจการกับ กคช. ในการจัดให้มีเคหะขึ้นเพื่อให้ประชาชนเช่า เช่าซื้อ หรือซื้อ (3) ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารหรือจัดหาที่ดิน (4) ปรับปรุง รื้อ หรือย้ายแหล่งเสื่อมโทรมเพื่อให้มีสภาพการอยู่อาศัยสิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจ และสังคมดีขึ้น (5) ประกอบกิจการอื่นที่สนับสนุนหรือเกี่ยวเนื่องกับวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง • จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ :ไม่เกิน 11 คน ประกอบด้วยประธานกรรมการและกรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า 5คน แต่ไม่เกิน 9คน ในจำนวนนี้ให้มีผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1คน และผู้แทนกระทรวงการคลัง 1คน และให้ผู้ว่าการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง (มาตรา 11) • วาระการดำรงตำแหน่ง : ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีก แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2วาระไม่ได้ (มาตรา 14) • การแต่งตั้งกรรมการอื่น :คณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่น (มาตรา 11) • ผู้มีอำนาจแต่งตั้งแผู้บริหารสูงสุด: ให้คณะกรรมการแต่งตั้งผู้ว่าการและกำหนดอัตราเงินเดือนของผู้ว่าการด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (มาตรา 18) • การพ้นจากตำแหน่ง : ผู้ว่าการอาจพ้นจากตำแหน่งเมื่อคณะกรรมการให้ออกด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (มาตรา 20(3)) ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป ยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ปัจจุบันไม่ปรากฎว่ามีโครงการที่ได้ดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 • คุณสมบัติเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 • ผู้ที่จะดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ กรรมการ และผู้ว่าการ ต้องเป็นผู้มีสัญชาติไทย และต้อง มีความรู้ ความสามารถ ความจัดเจนเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจการบริหารรัฐกิจ การผังเมือง การสาธารณูปโภค สถาปัตยกรรม วิศวกรรม การเศรษฐกิจ การเงิน หรือกฎหมาย (มาตรา 12) • ผู้มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ต้องห้ามมิให้เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการ • (1) เป็นผู้มีส่วนได้เสียในธุรกิจที่กระทำกับ กคช. หรือในธุรกิจที่เป็นการแข่งขันกับกิจการของ กคช. ทั้งนี้ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม เว้นแต่เป็นผู้ถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนที่จำกัดความรับผิดในกิจการเช่นว่านั้น ก่อนวันดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ กรรมการ หรือเป็นผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายให้เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการในบริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัด ที่ กคช. เป็นผู้ถือหุ้น • (2) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างนอกจากผู้ว่าการ • (มาตรา 13) หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน ที่มาของข้อมูล สัญญาจ้างผู้บริหาร www.krisdika.go.th มติคณะรัฐมนตรี ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง - ไม่ปรากฏว่ามีอำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 1 ผู้อำนวยการส่วน : - ผู้จัดทำ : นางสาวยสวดี นิลคูหา โทร. 02298880-9 ต่อ 6721 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54(Update) สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ไม่ปรากฎว่ามีสิทธิพิเศษเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตามมติคณะรัฐมนตรี ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง เรื่องเสร็จที่ 497/2544เรื่อง การตั้งตัวแทนตามพรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ. 2537ตามมาตรา 7 เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับสำนักงานตัวแทนซึ่งเป็นเรื่องสถานที่ตั้งอย่างเดียว โดยอำนาจในการแต่งตั้งแทนย่อมเป็นไปตามมาตรา 23ดังนั้น การเคหะชาติสามารถมอบอำนาจให้บริษัทเอกชนเป็นตัวแทนขายโครงการและลงนามสัญญาเช่า การเคหะฯต้องออกข้อบังคับตามมาตรา 16(5) แห่งพรบ.การเคหะแห่งชาติ เป็นการเฉพาะสำหรับกรณีนี้ เรื่องเสร็จที่ 212/2549 เรื่อง กรรมสิทธิ์ที่ดินที่ตั้งอาคารเช่าแฟลตดินแดง ว่า การกำหนดให้โอนเฉพาะทรัพย์สินที่เกี่ยวกับกิจการอาคารสงเคราะห์ดำเนินการอยู่ให้แก่การเคหะแห่งชาติ ไม่มีผลเป็นการโอนที่ดินแปลงที่ใช้ก่อสร้างอาคารสงเคราะห์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงมหาดไทยขณะนั้นให้แก่การเคหะแห่งชาติแต่อย่างใด กรรมสิทธิ์ในที่ดินแปลงดังกล่าวยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงมหาดไทยอยู่ และต่อมาเมื่อมีการตรา พรบ. ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 ที่ดินแปลงนี้ จึงตกเป็นที่ราชพัสดุตามมาตรา 4 แห่ง พรบ. ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 กรรมสิทธิ์ในที่ดินแปลงนี้จึงถูกโอนไปเป็นของกระทรวงการคลังตามมาตรา 11 แห่ง พรบ. ที่ราชพัสดุฯ กทม. จึงต้องส่งมอบโฉนดที่ดินและเอกสารที่เกี่ยวข้องให้แก่กระทรวงการคลัง