230 likes | 453 Views
5. ระบบการสื่อสารข้อมูล ( Data Communication System ). มาตรฐานการเชื่อมต่อ. หัวข้อ ( Topic ). มาตรฐาน RS-232C มาตรฐาน RS-449. มาตรฐาน RS232. มาตรฐาน RS 232 เป็นมาตรฐานการเชื่อมต่อข้อมูลแบบอนุกรมที่นิยมใช้มากที่สุด
E N D
5 ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System) มาตรฐานการเชื่อมต่อ
หัวข้อ (Topic) • มาตรฐาน RS-232C • มาตรฐาน RS-449
มาตรฐาน RS232 • มาตรฐาน RS 232 • เป็นมาตรฐานการเชื่อมต่อข้อมูลแบบอนุกรมที่นิยมใช้มากที่สุด • กำหนดโดย EIA (Electronics Industry Association) หรือสมาคมผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของอเมริกา ตั้งแต่ปี 1969 • เริ่มต้นจากความต้องการที่จะกำหนดมาตรฐานการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับโมเด็มในสมัยนั้น
มาตรฐาน RS232 • โดยที่ • RS ย่อมาจาก Recommend Standard • 232 เป็นหมายเลขบ่งบอกของมาตรฐาน • C เป็นหมายเลขท้ายสุดของมาตรฐาน
มาตรฐาน RS232 • จุดประสงค์ของมาตรฐานนี้คือเพื่อบรรยายคุณลักษณะของการเชื่อมต่อ อุปกรณ์รับส่งข้อมูลปลายทาง (Data Terminal Equipment: DTE) กับ อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล (Data Communication Equipment : DCE) ซึ่งจะขึ้นอยู่กับผู้ผลิต
มาตรฐาน RS232 • Serial Transmission Standards • RS-232 (Officially RS-232C) – DB-25, DB-9 • Modem Cables • DCE (Data Communications Equipment) • DTE (Data Terminal Equipment)
มาตรฐาน RS232 • อุปกรณ์รับส่งข้อมูลปลายทาง (Data Terminal Equipment: DTE) • เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบไปด้วยตัวส่งข้อมูล (data source) หรือ ตัวรับข้อมูล(data sink) หรือเป็นทั้งตัวส่งและตัวรับข้อมูลก็ได้ • ประกอบด้วย function unit คือ control logic , bufferstore ,input/output device และ เครื่องคอมพิวเตอร์
มาตรฐาน RS232 • อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล (Data Communication Equipment : DCE) • DTE จะแทนแหล่งกำเนิดข้อมูลแหล่งแรก และ/หรือ อุปกรณ์ที่เป็นแหล่งรับข้อมูลแหล่งสุดท้าย อาทิ • เครื่องพิมพ์ หรือ จอภาพ • อุปกรณ์ที่รับข้อมูลได้เพียงอย่างเดียว จะเป็น DTE เพราะเป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลเป็นตัวสุดท้าย คีย์บอร์ดเป็นทั้งตัวรับและตัวกำเนิดข้อมูล • ส่วน DCE เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้การสื่อสารข้อมูลระหว่างแหล่งกำเนิดกับตัวรับข้อมูลที่ปลายทาง ทำให้สะดวกขึ้น ตัวอย่างหนึ่งของ DCE ก็คือโมเด็ม
มาตรฐาน RS232 • ปกติโมโครคอมพิวเตอร์จะมีพอร์ทอนุกรมที่เรียกว่า RS 232 อยู่ในตัว โดยพอร์ทนี้ทำหน้าที่รับและส่งข้อมูลในแบบอนุกรมเรียกว่า Universal Asynchronous Adapter
มาตรฐาน RS232 • คำอธิบายการทำงานของแต่ละขาที่ใช้งาน • Transmit Data (TD) เป็นสัญญาณที่ส่งออกจาก DTE (หรือตัวไมโครคอมพิวเตอร์พิวเตอร์) ไปยังโมเด็มหรือต่อกับไมโครคอมพิวเตอร์ตัวอื่น เมื่อไม่มีสัญญาณส่งออกสถานะภาพของลอกจิกที่ขานี้มีค่าเท่ากับ”1” หรือเที่ยบเท่า Stop Bit • Received Data (RD) เป็นทางสัญญาณเข้าไปยัง DTE หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมื่อไม่มีสัญญาณ รับเข้ามา ขานี้จะมีสถานะภาพลอจิกเป็น “1”
มาตรฐาน RS232 • คำอธิบายการทำงานของแต่ละขาที่ใช้งาน • Request to Send (RTS) ใช้สำหรับส่งสัญญาณไปยังโมเด็มหรือเครื่องพิมพ์เป็นการเรียกร้องที่จะส่งสัญญาณมาทาง TD สัญญาณนี้จะใช้คู่กับ CTS ที่อุปกรณ์รับ หากได้รับ สัญญาณ RTS จะตรวจตัวเองว่าพร้อมจะรับสัญญาณได้หรือยัง หากพร้อมก็จะส่งสัญญาณออกไปที่สาย CTS • Clear to Send (CTS) เมื่อสายสัญญาณนี้อยู่ในสภาวะออฟ (Negative Voltage หรือลอจิก”1”) หมายความว่า อุปกรณ์รับกำลังบอกว่า พร้อมจะรับข้อมูลแล้ว
มาตรฐาน RS232 • คำอธิบายการทำงานของแต่ละขาที่ใช้งาน • Data Set Ready (DSR) เมื่อสายสัญญาณนี้อยู่ไนสภาวะออน (ลอกจิก”0”) จะเป็นการบอกไมโครคอมพิวเตอร์ว่า พร้อมที่จะส่งได้แล้ว • Signal Ground (SG) ทำหน้าที่เป็นระดับแรงดันอ้างอิงสำหรับทุกๆสายสัญญาณจะมีแรงดันเป็น “0” เมื่อเทียบกับสายสัญญาณอื่นๆ • Data Terminal Ready (DTR) คอมพิวเตอร์เปิดสัญญาณนี้ให้ออน(ลอจิก”0”) เมื่อพร้อมที่จะติดต่อรับส่งข้อมูล
มาตรฐาน RS449 • ข้อจำกัดของ RS-232C คือ สามารถใช้ cable ได้ยาวที่สุดเพียงประมาณ50 ฟุต( ตกประมาณ 16 ถึง 17 meters ) • มาตรฐานใหม่เพื่อปรับปรุงแก้ไขประสิทธิภาพ INTERFACE RS-232C มาตรฐานใหม่นี้ก็คือ มาตรฐาน RS449/RS422ทำงานที่ความเร็วสูงที่สุดถึง10 Mbpsและระยะทางไกลที่สุดประมาณ1,200 เมตร
มาตรฐาน RS449 • INTERFACE EIA RS-449 โดยใช้ Connector ชนิด d-type 37 pins ( DB-37 )