160 likes | 302 Views
Write & Read การแสดงผลข้อมูล และ การรับข้อมูล. SCC : Suthida Chaichomchuen std@kmitnb.ac.th. การแสดงผลข้อมูลโดยใช้คำสั่ง Write. คำสั่งที่ใช้เพื่อแสดงผลข้อมูล รายการที่ต้องการแสดงใส่ในเครื่องหมาย ( ) รูปแบบ Write(output, item1, item2,…, itemN);. การแสดงข้อความ.
E N D
Write & Read การแสดงผลข้อมูล และ การรับข้อมูล SCC : Suthida Chaichomchuen std@kmitnb.ac.th
การแสดงผลข้อมูลโดยใช้คำสั่ง Write • คำสั่งที่ใช้เพื่อแสดงผลข้อมูล • รายการที่ต้องการแสดงใส่ในเครื่องหมาย ( ) รูปแบบ Write(output, item1, item2,…, itemN);
การแสดงข้อความ • นำข้อความที่ต้องการแสดงใส่ในสัญลักษณ์ ‘apostrophy’ เช่น write(‘Hello’); write(‘I am happy.’); Write(‘Enter the number = ’);
การกำหนดความยาวของข้อความการกำหนดความยาวของข้อความ • กำหนดตัวเลขไว้หลังข้อความที่ต้องการแสดง โดยตามหลังสัญลักษณ์ : เช่น กำหนดให้แสดงคำว่า Hello จองความยาวไว้ 10 ตัวอักษร write(‘Hello’ : 10); ผลที่ได้คือ_ _ _ _ _Hello
การแสดงค่าในตัวแปร • ใส่ชื่อตัวแปรที่ต้องการแสดงค่าในวงเล็บ เช่น write(number); write(a); write(count);
การแสดงตัวแปรหลายค่า • ต้องการแสดงค่าตัวแปรหลายตัว ใช้เครื่องหมาย , คั่น เช่น write(day,month,year); write(a,b,c);
การกำหนดความยาวให้ตัวแปรการกำหนดความยาวให้ตัวแปร • เมื่อตัวแปรเป็นชนิด จำนวนเต็ม ตัวอักขระหรือชุดอักขระ การกำหนดความยาวในการแสดงผล ให้ใส่ตัวเลขกำกับหลังตัวแปรนั้น เช่น write(name:20); write(a:10, b:10, c:10);
การกำหนดความยาวให้ตัวแปรการกำหนดความยาวให้ตัวแปร • เมื่อตัวแปรเป็นชนิดจำนวนจริง (ทศนิยม) ให้ใส่ตัวเลขกำกับหลังตัวแปร 2 ตัวคือ • ตัวแรกคือความยาวทั้งหมด (รวมจุด .) • ตัวที่สองคือจำนวนตำแหน่งทศนิยม เช่น write(area:10:3); ผลที่ได้_ _ _253.125
ข้อสังเกต • เมื่อโปรแกรมทำคำสั่ง write แล้ว เคอร์เซอร์จะอยู่ที่ตำแหน่งต่อจากตัวอักษรสุดท้ายที่แสดงผล • ถ้ากำหนดความยาวของการแสดงผลน้อยกว่าความยาวของข้อมูลจริง โปรแกรมจะแสดงเสมือนว่าไม่ได้มีการกำหนดตำแหน่ง
การแสดงข้อมูลโดยใช้คำสั่ง WriteLn • แตกต่างจากคำสั่ง write ตรงที่ เมื่อแสดงผลแล้ว เคอร์เซอร์จะเลื่อนตำแหน่งไปอยู่ที่บรรทัดใหม่ริมซ้ายสุดให้ รูปแบบ WriteLn(output, item1,…, itemN);
การแสดงข้อความและตัวแปรการแสดงข้อความและตัวแปร • เมื่อต้องการแสดงข้อความและตัวแปรร่วมกันให้ใช้เครื่องหมาย , คั่น เช่น writeln(‘AREA=’, area:10:3); ผลที่ได้คือAREA= 253.125
การรับข้อมูลโดยใช้คำสั่ง Read • เมื่อต้องการรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องระบุถึง 2 สิ่งหลักคือ • รับจากที่ไหน? • Keyboard • Disk drive • Mouse • เมื่อรับเข้ามาแล้ว จะนำไปเก็บไว้ที่ตัวแปรใด?
การใช้คำสั่ง Read • ข้อมูลที่จะนำเข้าสู่เครื่องเป็นได้ทุกชนิด ยกเว้นชนิดบูลีน เพราะไม่สามารถอ่านค่าได้ รูปแบบ read(input, var1, var2,…, varN);
การใช้คำสั่ง Read • ตัวอย่าง การรับค่าตัวแปร 1 ตัว read(name); read(x); • ตัวอย่าง การรับค่าตัวแปรหลายตัว read(name, age); read(x, y, z);
ข้อสังเกต • การป้อนค่าให้กับตัวแปรนั้น ต้องใส่ค่าที่เป็นชนิดเดียวกันเท่านั้น มิเช่นนั้นโปรแกรมจะหยุดทำงานทันที • เมื่อใช้คำสั่ง read เคอร์เซอร์จะอยู่ ณ ตำแหน่งท้ายสุดของข้อมูลที่ป้อน ถ้าต้องการให้เคอร์เซอร์ขึ้นบรรทัดใหม่ต้องใช้คำสั่ง readln
ข้อสังเกต • การป้อนค่าหลายตัวแปร สามารถใช้คีย์ spacebar หรือ enter เพื่อแยกค่าแต่ละตัว • คำสั่ง readln ที่ไม่มี () ต่อท้ายหมายถึง การหยุดรอรับคีย์ enter ก่อนที่จะทำคำสั่งต่อไป