1 / 30

Chapter 5 Functions Benchaporn Jantarakongkul

Chapter 5 Functions Benchaporn Jantarakongkul. นิยามของฟังก์ชั่น. นิยาม ให้ A และB เป็นเซตใด ๆ และ f เป็นสับเซตของ A  B f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B( f : AB ) ก็ต่อเมื่อ f มีคุณสมบัติดังนี้ “แต่ละสมาชิก x ใน A จะมีสมาชิก y ใน B มาจับคู่เพียงตัวเดียวเท่านั้น” หรือ

tess
Download Presentation

Chapter 5 Functions Benchaporn Jantarakongkul

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 5FunctionsBenchaporn Jantarakongkul Faculty of Informatics, Burapha University

  2. นิยามของฟังก์ชั่น นิยาม ให้ A และB เป็นเซตใด ๆ และ f เป็นสับเซตของ AB f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B(f: AB) ก็ต่อเมื่อ f มีคุณสมบัติดังนี้ “แต่ละสมาชิก x ใน A จะมีสมาชิก y ใน B มาจับคู่เพียงตัวเดียวเท่านั้น” หรือ 1. ทุก ๆ x  A มี y  B ซึ่ง (x, y) f 2. ทุก ๆ x  A และ y, z  B ถ้า (x, y) f และ (x, z) f แล้ว y = z Faculty of Informatics, Burapha University

  3. ตัวอย่าง • A={1, 2, 3, 4} และ B={0, 1, 2, 3, 4} • ความสัมพันธ์ที่กำหนดต่อไปนี้ ข้อใดเป็นฟังก์ชั่นจาก A ไป B? • f = {(1,0), (2,1), (3,2), (4,3)} • g = {(1,1), (2,0), (3,2), (4,1), (2,4)} • h = {(1,4), (2,2), (3,0)} • f เป็นฟังก์ชั่น, แต่g และhไม่เป็นฟังก์ชั่น Faculty of Informatics, Burapha University

  4. Function Terminology • ถ้ากำหนดฟังก์ชั่นf:AB, และf(a)=b (โดยที่aAและbB), ดังนั้น กล่าวได้ว่า: • Aคือ โดเมน(domain)ของf • Bคือ โคโดเมน(codomain)ของf • bคือ อิมเมจ(image)ของa ภายใต้f • aคือ พรีอิมเมจ(pre-image)ของbภายใต้f • สังเกตว่าbหนึ่งค่า อาจมีพรีอิมเมจได้มากกว่า 1 ตัว • พิสัย(range)RBของf คือR={b | af(a)=b } Faculty of Informatics, Burapha University

  5. b เป็น image ของ 2 Domain and Codomain • ถ้า fเป็นฟังก์ชันจากเซต A ไปยัง B, เรากล่าวว่า A คือโดเมน(domain) ของfและ B เป็นโคโดเมน(codomain) ของf • โคโดเมน(codomain)คือเซต ที่ฟังก์ชั่นนั้นถูกประกาศว่าแมปค่าในโดเมนไปยังค่าในเซตนั้น ตัวอย่างนี้ โคโดเมนคือ {a,b,c,d} • พิสัย(range) คือเซตของค่าในโคโดเมน ที่ฟังก์ชั่นแมปสมาชิกของโดเมนไปยังค่านั้นจริง โคโดเมนคือ {a,b,c} f a b c d 1 2345 2 เป็น pre-image ของ b =f(2) Faculty of Informatics, Burapha University

  6. การเท่ากันของฟังก์ชันการเท่ากันของฟังก์ชัน นิยาม ถ้า f และ g เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B เรากล่าวว่า f = g ก็ต่อเมื่อ โดเมนของ f และโดเมนของ g เป็นเซตเดียวกันและโคโดเมนของ f และโคโดเมนของ g เป็นเซตเดียวกันและf(x) = g(x) สำหรับทุกๆ x ในโดเมน ตัวอย่าง เช่น ให้ f = {(x, y)  x, y R และ y = x + 1} g = {(x, y)  x, y  Z+ และ y = x + 1} • โดเมน, โคโดเมน, พิสัย ของ f คือ R • โดเมน, โคโดเมน ของ g คือ Z+ พิสัย ของ g คือ Z+ - {1} ดังนั้น f  g Faculty of Informatics, Burapha University

  7. Linda Boston Max New York Kathy Hong Kong Peter Moscow Functions Example • กำหนดฟังก์ชั่นf:PC โดยกำหนด P = {Linda, Max, Kathy, Peter} C = {Boston, New York, Hong Kong, Moscow} f(Linda) = Moscow f(Max) = Boston f(Kathy) = Hong Kong f(Peter) = Boston • fเป็นฟังก์ชั่นหรือไม่? yes พิสัย(range)ของฟังก์ชั่นนี้คือ? {Moscow, Boston, Hong Kong} Faculty of Informatics, Burapha University

  8. Functions Example ให้f : Z  Rที่กำหนดโดยf (x ) =x 2 Q1: จงหาโดเมน และโคโดเมนของฟังก์ชั่น? A1: โดเมน คือZ, โคโดเมน คือR Q2: จงหาอิมเมจของ -3 ? A2: อิมเมจของ -3 = f (-3) = 9 Q3: จงหาพรีอิมเมจของ 3, 4? A3: พรีอิมเมจของ 3: ไม่มี เพราะ3 ไม่เป็นจำนวนเต็ม พรีอิมเมจของ 4: -2 และ 2 Q4: จงหาพิสัยของf (Z)? A4: พิสัยคือ เซตของเลขจำนวนเต็มยกกำลังสอง f (Z)= {0,1,4,9,16,25,…} Faculty of Informatics, Burapha University

  9. Function Operator • ให้f1และf2เป็นฟังก์ชั่นจาก A ไปR • ดังนั้นผลรวมและผลคูณของฟังก์ชั่นf1และf2ยังคงเป็นฟังก์ชั่นจากเซต A ไปRนิยามโดย: (f1 + f2)(x) = f1(x) + f2(x) (f1f2)(x) = f1(x) f2(x) • ตัวอย่าง เช่น: f1(x) = 3x, f2(x) = x + 5 (f1+ f2)(x) = f1(x) + f2(x) = 3x + x + 5 = 4x + 5 (f1f2)(x) = f1(x) f2(x) = 3x (x + 5) = 3x2 + 15x Faculty of Informatics, Burapha University

  10. Function Composition Operator • การประกอบกันของสองฟังก์ชั่นg:AB และf:BC, แทนด้วยf○g, นิยามโดย (f○ g)(a) = f(g(a)) หมายความว่า • หาค่าฟังก์ชั่นgโดยใช้ค่าสมาชิก aA แมปค่า a ผ่านฟังก์ชั่น g ไปยังสมาชิกของ B • จากนั้นหาค่าฟังก์ชั่นfโดยใช้ค่าสมาชิกของ B, แล้วแมปค่านั้นผ่านฟังก์ชั่น f ไปยังสมาชิกของ C • ดังนั้น ฟังก์ชั่นประกอบ แมปจาก A ไปยัง C Faculty of Informatics, Burapha University

  11. Composition ตัวอย่าง ให้ g เป็นฟังก์ชันจาก A = { a, b, c} ไปยังเซต A ซึ่ง g(a) = b, g(b) = c, และ g(c) = a และ f เป็น ฟังก์ชันจาก A = { a, b, c} ไปยัง B = {1, 2, 3 } ซึ่ง f(a) = 3, f(b) = 2, และ f(c) = 1 ดังนั้นสามารถหา fog ได้ fog(a) = f(g(a)) = f(b) = 2 และ fog(b) = f(g(b)) = f(c) = 1 fog(c) = f(g(c)) = f(a) = 3 แต่ gof หาไม่ได้เนื่องจาก พิสัยของ f ไม่เป็นสับเซตของโดเมนของ g Faculty of Informatics, Burapha University

  12. Composition • ตัวอย่าง ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันจากเซต Z ไป Z ซึ่งกำหนด f(x) = 2x + 3 และ g(x) = 3x + 2 จงหา fog และ gof เราสามารถหา fog และ gof ได้ดังนี้ (fog)(x) = f(g(x)) = f (3x + 2) = 2(3x + 2) + 3 = 6x + 7 (gof)(x) = g(f(x)) = g(2x + 3) = 3(2x + 3) + 2 = 6x + 11 Faculty of Informatics, Burapha University

  13. Composition Q: จงหาg○f โดยที่ 1.f: Z  R, f (x ) =x 2 และ g: R  R, g (x ) =x 3 2. f :RR, f(x) = 7x – 4, และg : RR, g(x) = 3x 3. f : {ประชากรโลก} {ประชากรโลก}, f (x ) =พ่อของx, และg = f Faculty of Informatics, Burapha University

  14. Composition 1.f: Z  R, f (x ) =x 2 และ g: R  R, g (x ) =x 3 g○f: Z  R , g○f(x ) = x 6 2. f :RR, f(x) = 7x – 4, และg : RR, g(x) = 3x (g○ f)(x) = g(f(x)) = g(7x – 4) = 3(7x – 4) = 21x-12 (f ○ g)(x) = f(g(x)) = f(3x) = 21x - 4 3. f : {ประชากรโลก} {ประชากรโลก}, f (x ) = g(x ) =พ่อของx g○f (x ) = ปู่ของx Faculty of Informatics, Burapha University

  15. Repeated Composition • เมื่อเซตของโดเมน และโคโดเมนเท่ากัน ฟังก์ชั่นนั้นอาจประกอบเข้ากับตัวเองได้การประกอบกันของฟังก์ชั่นตัวเดียวกันซ้ำๆ จะเขียนอยู่ในรูปของการยกกำลังของฟังก์ชั่น(functional exponentiation)แทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้ f n (x ) = f ○f ○f ○f ○ … ○f (x ) โดย f ประกอบกันn ครั้ง เริ่มจากด้านขวามือ Q1: กำหนดf: Z  Z, f (x ) =x 2จงหาf4 Q2: กำหนดg: Z  Z, g (x ) =x + 1 จงหาgn Q3: กำหนดh(x ) =พ่อของx, จงหาhn n Faculty of Informatics, Burapha University

  16. Repeated Composition A1: f: Z  Z, f (x ) =x 2 f4(x ) =x (2*2*2*2) = x 16 A2: g: Z  Z, g (x ) =x + 1 gn (x ) =x + n A3: h (x ) =พ่อของx, hn (x ) =บรรพบุรุษลำดับที่ nของ x Faculty of Informatics, Burapha University

  17. ฟังก์ชั่นOne-to-One • ฟังก์ชั่นf:ABเป็นone-to-one (1-1), หรือinjection, ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวในพิสัยมีพรีอิมเมจเพียงตัวเดียว x, yA (f(x) = f(y)  x = y) • หรือกล่าวได้ว่าfเป็น one-to-one ก็ต่อเมื่อ ฟังก์ชั่นนั้นไม่มีการแมปสมาชิกที่แตกต่างกันในเซตAไปบนสมาชิกตัวเดียวกันในเซตB • สังเกตว่า โดเมนและพิสัยจะมีขนาด(จำนวนสมาชิก)เท่ากัน ส่วนโคโดเมนอาจมีขนาดใหญ่กว่า Faculty of Informatics, Burapha University

  18. กราฟแสดงOne-to-One • กราฟสองส่วน(Bipartite graph) สามารถใช้พิจารณาว่าฟังก์ชั่นเป็น 1-1 หรือไม่เป็นได้: • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • ไม่เป็นone-to-one เป็นOne-to-one ไม่เป็นฟังก์ชั่น! Faculty of Informatics, Burapha University

  19. Properties of Functions • กำหนด g ดังนี้ • g(Linda) = Moscow • g(Max) = Boston • g(Kathy) = Hong Kong • g(Peter) = New York • g เป็นone-to-oneหรือไม่? • เป็น เพราะสมาชิกแต่ละตัวถูกกำหนดให้มีอิมเมจคนละตัวกัน • กำหนด f ดังนี้ f(Linda) = Moscow f(Max) = Boston f(Kathy) = Hong Kong f(Peter) = Boston • fเป็น one-to-one หรือไม่? • ไม่เป็น 1-1 เพราะ Max และ Peter ถูกแมปไปบนสมาชิกตัวเดียวกัน(มีอิมเมจตัวเดียวกัน) Faculty of Informatics, Burapha University

  20. การพิสูจน์ว่าฟังก์ชั่นเป็น 1-1 หรือไม่ ตัวอย่าง:f:RRกำหนดโดยf(x) = x2 • จากนิยามของ One-to-one: x, yA (f(x) = f(y)  x = y) • พิสูจน์ว่าข้อความเป็นเท็จ โดยยกตัวอย่างค้าน(Disproof by counterexample): f(3) = f(-3), แต่ 3  -3, ดังนั้นfไม่เป็น one-to-one ตัวอย่าง: f:RR กำหนดโดยf(x) = 3x • จากนิยามของ One-to-one: x, yA (f(x) = f(y)  x = y) • ใช้ Indirect proof พิสูจน์ว่าข้อความเป็นจริง คือต้องแสดงว่า: ถ้า x  yดังนั้น f(x)  f(y) • สมมติให้x  y จะได้ว่า 3x  3yดังนั้นf(x)  f(y), จึงสรุปได้ว่า ถ้าx  y, แล้วf(x)  f(y), ดังนั้นf เป็น one-to-one Faculty of Informatics, Burapha University

  21. • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • Onto (Surjection) Functions • ฟังก์ชั่นf:ABเป็นontoหรือsurjectionก็ต่อเมื่อ พิสัยเท่ากับโคโดเมน (bB, aA: f(a)=b) • ฟังก์ชั่นontoแมปเซตAไปบนสมาชิกทุกตัวของเซตB • ถ้าฟังก์ชั่นเป็น onto สังเกตว่าพิสัยจะเท่ากับโคโดเมน: Onto(แต่ไม่ 1-1) ไม่ Onto(ไม่ 1-1) เป็น 1-1และ onto เป็น1-1 แต่ไม่ onto Faculty of Informatics, Burapha University

  22. Bijections • ฟังก์ชั่นfเรียกว่าเป็นสมนัยหนึ่งต่อหนึ่ง (one-to-one correspondence), หรือbijection, หรือกล่าวว่าเป็นฟังก์ชั่นหาผกผันได้(invertible), ก็ต่อเมื่อ ฟังก์ชั่นนั้นเป็นทั้ง one-to-one และ onto • สำหรับ bijections f:AB, เป็นฟังก์ชั่นที่มีผกผันของf, เขียนแทนด้วย f 1:BA, ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นที่เมื่อนำมาประกอบกับ f แล้วเท่ากับฟังก์ชั่นเอกลักษณ์(ซึ่งIAเป็นฟังก์ชั่นเอกลักษณ์บนเซตA) ตัวอย่าง: f : Z  Z, f (x ) =x + 1 และg = f -1 ดังนั้นg (x ) =x – 1 จะได้ว่าg○f(x ) = x • เห็นได้ว่า ถ้าfเป็น bijection และเซตAและBเป็นเซตจำกัด แล้ว |A| = |B| Faculty of Informatics, Burapha University

  23. คุณสมบัติของฟังก์ชั่นคุณสมบัติของฟังก์ชั่น Linda Boston • fเป็น 1-1? • Yes • fเป็น onto? • Yes • fเป็น bijection? • Yes Max New York Kathy Hong Kong Peter Moscow Helena Sidney Faculty of Informatics, Burapha University

  24. One-to-One, Onto, Bijection Examples Q: ข้อใดต่อไปนี้เป็น 1-1, onto, bijection? ถ้าfเป็นฟังก์ชั่นที่หาผกผันได้จงหาฟังก์ชั่นผกผัน? • f : Z  Rกำหนดโดยf (x ) =x 2 • f : Z  Zกำหนดโดยf (x ) = 2x • f : R  Rกำหนดโดยf (x ) =x 3 • f : Z  Nกำหนดโดยf (x ) = |x | • f : {ประชากรโลก} {ประชากรโลก}กำหนดโดย f (x ) =พ่อของx Faculty of Informatics, Burapha University

  25. One-to-One, Onto, Bijection Examples • f : Z  R, f (x ) =x 2: ไม่เป็นทั้ง 1-1 และ onto • f : Z  Z, f (x ) = 2x : เป็น 1-1 • f : R  R, f (x ) =x 3: เป็นทั้ง 1-1, onto, bijection, inverse คือf -1(x ) =x (1/3) • f : Z  N, f (x ) = | x |: เป็น onto • f (x ) =พ่อของx: ไม่เป็นทั้ง 1-1 และ onto Faculty of Informatics, Burapha University

  26. ฟังก์ชั่นผกผัน(Inverse Function) • ให้ f:AB เป็น one-to-one correspondence, หรือ bijection ดังนั้น ฟังก์ชั่นผกผันของ fคือฟังก์ชั่นที่กำหนดค่าสมาชิกbใน B ด้วยสมาชิกเพียงตัวเดียวaใน A โดยที่f(a) = b • ฟังก์ชั่นผกผันของfเขียนแทนด้วยf -1ดังนั้นf -1(b) = aเมื่อf(a) = b f • • a=f -1(b) b=f(a) f-1 A B Faculty of Informatics, Burapha University

  27. ฟังก์ชั่นผกผัน(Inverse Function) ตัวอย่าง: f(Linda) = Moscow f(Max) = Boston f(Kathy) = Hong Kong f(Peter) = Sidney f(Helena) = New York ดังนั้น f เป็น bijection ฟังก์ชั่นผกผัน f-1กำหนดโดย: f-1(Moscow) = Linda f-1(Boston) = Max f-1(Hong Kong) = Kathy f-1(Sidney) = Peter f-1(New York) = Helena ผกผันจะหาได้เฉพาะกับฟังก์ชั่นที่เป็นbijections เท่านั้น(= invertible functions) Faculty of Informatics, Burapha University

  28. Inverse Function Example ให้f : Z  Z, f(x) = x+1จงแสดงว่าf หาผกผันได้หรือไม่ ถ้าหาได้จงหาf -1? • fเป็นฟังก์ชั่นที่หาผกผันได้ เพราะเป็น bijection (จงให้เหตุผล) ดังนั้นx = y-1นั่นคือf -1(y)=y-1 หรือเขียนในรูปของตัวแปรxได้ว่าf -1(x)=x - 1 • กำหนดให้f : Z  Z, f(x) = x2 จงแสดงว่าf หาผกผันได้หรือไม่ ถ้าหาได้จงหาf -1? • เพราะf(-1) = f(1) = 1, fจึงไม่เป็น one-to-one ดังนั้นfไม่สามารถหาผกผันได้ Faculty of Informatics, Burapha University

  29. ฟังก์ชั่นที่สำคัญ • ฟังก์ชั่นบนเซตของจำนวนจริงที่พบได้บ่อยได้แก่: • ฟังก์ชั่นพื้น(floor) ·:R Z, โดยที่ x (“พื้นของx”) หมายถึงจำนวนเต็มที่มากที่สุดที่  x นั่นคือx :≡ max({iZ|i≤x}) ตัวอย่าง เช่น: 2.3 = 2, 2 = 2, 0.5 = 0, -3.5 = -4 • ฟังก์ชั่นเพดาน(ceiling) · :R Z, โดยที่ x (“เพดานของx”) หมายถึงจำนวนเต็มที่น้อยที่สุดที่  x นั่นคือx:≡ min({iZ|i≥x}) ตัวอย่าง เช่น : 2.3 = 3, 2 = 2, 0.5 = 1, -3.5 = -3 Faculty of Informatics, Burapha University

  30. ฟังก์ชั่น Floor & Ceiling • จำนวนจริงที่มีค่า “ตกลงไปที่พื้น” หรือมีค่า “ขึ้นไปที่เพดาน” • สังเกตว่า ถ้าxZ,x   x และx   x • สังเกตว่า ถ้าxZ, x = x = x 3 . 1.6=2 2 . 1.6 . 1 1.6=1 0 . 1.4= 1 1 . 1.4 . 2 1.4= 2 . . . 3 3 3=3= 3 Faculty of Informatics, Burapha University

More Related