1.11k likes | 1.4k Views
กลยุทธ์การจัดตั้งธุรกิจ-การคิดต้นทุนและการวางแผนภาษี. โดย พงษ์ศรัณย์ สิริบุญวัฒนา Tax A uditor. การจัดทำกลยุทธ์. การวิเคราะห์สถานการณ์ Situational Analysis : SWOT สภาพแวดล้อมภายนอก, ภายใน Strengths ส่งเสริม,จุดขาย Weaknesses กำจัด,แก้ไข Opportunities ฉกฉวย
E N D
กลยุทธ์การจัดตั้งธุรกิจ-การคิดต้นทุนและการวางแผนภาษีกลยุทธ์การจัดตั้งธุรกิจ-การคิดต้นทุนและการวางแผนภาษี โดย พงษ์ศรัณย์ สิริบุญวัฒนา Tax Auditor
การจัดทำกลยุทธ์ การวิเคราะห์สถานการณ์ Situational Analysis : SWOT สภาพแวดล้อมภายนอก, ภายใน Strengths ส่งเสริม,จุดขาย Weaknesses กำจัด,แก้ไข Opportunities ฉกฉวย Threats หลีกเลี่ยง,ระวัง
An Overview of Consumer Behavior BABY BOOMERS 2492-2507 GENERATION X 2508-2519 GENERATION Y (Millennials / Echo Boomers) 2522 – 2537 Tweens กลุ่มคนที่อยู่ในระหว่างวัยเด็ก และ วัยรุ่น7-14 ปี กลุ่มที่มีกิจกรรมเฉพาะตัว เพราะพ่อ แม่ มีเวลาให้ลูกน้อยลงกว่าในอดีต และตามใจลูกมากขึ้น กลุ่มTweens จึงมีอิสระมากขึ้นในการเลือกซื้อของเอง
ครอบครัวเล็กลง ทำงานหนัก แต่รายได้ไม่ได้น้อยอย่างที่คิด • แต่ละครอบครัวมีสมาชิกเฉลี่ย 3-4 คน • การคุมกำเนิดเป็นที่ยอมรับและได้ผล • มีญาติพี่น้องและเพื่อนสนิทอยู่ในบริเวณใกล้เคียง • ให้ความสำคัญกับการศึกษาของลูก • เขาทำงานทุกวัน เสาร์ อาทิตย์ คือวันทำงาน • เกือบจะทุกคนมีอาชีพเสริม • ทำงานเฉพาะเมื่ออยากทำ ทำอย่าง “สบาย สบาย” • ส่วนใหญ่ Life Style เป็นแบบ C หรือ D แต่รายได้ A หรือ B • “คนรวย” ในทัศนะของพวกเขา คือ คนที่มีเงินมาก ๆ ในธนาคาร • ถ้าเลือกได้ ขอทำงานในจังหวัด • เขาคุ้นเคยและไว้วางใจเพื่อนบ้าน • เขาชอบชนบทเพราะสะดวกสบาย คนน้อย อากาศบริสุทธิ์ • ทำงานหนัก และเก็บเงินเพื่อซื้อที่ดิน และสิ่งอำนวยความสะดวก
ผู้หญิงไม่ใช่ช้างเท้าหลังอีกต่อไป+ลูกเป็นตัว Influencerที่ดี • ผู้ชายและผู้หญิงช่วยกันทำงานบ้าน • เขาค้นหาสินค้าใหม่เพื่อทำให้ชีวิตสะดวกสบายขึ้น • การตัดสินใจซื้อสินค้าที่ใช้ประจำวันยังคงเป็นหน้าที่แม่บ้าน • สินค้าราคาแพง พ่อบ้านและแม่บ้านร่วมกันตัดสินใจซื้อ • บางครอบครัวเริ่มใช้ของใช้ประจำวันแยกกัน • ผู้เป็น “influencer” ในบ้านคือ “ลูก,โดยเฉพาะวัยรุ่น” เขาเป็นผู้ทำให้ในบ้านเกิด “brand switching” • การซื้อสินค้ายี่ห้อใหม่ๆ มาแนะนำให้คนในครอบครัวใช้โดยลูกหลานที่เข้าไปเรียนหนังสือ หรือทำงานในเมือง ล้วนแล้วแต่เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้พฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของแม่บ้านชาวชนบทเปลี่ยนแปลงไปอย่างชัดเจน พฤติกรรมการทานอาหาร ยังคงเป็นเหมือนเมื่อก่อน คือ ทำกับข้าว แล้ว แบ่งปันกันกิน กับข้างบ้าน หรือบ้านต่างๆในหมู่บ้าน หรือบางที ก็จะนัดรวมตัวกัน เพื่อกินข้าว เพื่อความหลากหลายในอาหาร และการได้ใกล้ชิดกันมากขึ้น
ร้านค้าในหมู้บ้าน Carpoolกันไปซื้อของที่Hypermarket ร้านค้าส่งใหญ่ในตัวเมือง • ในแต่ละหมูบ้านจะมีร้านค้าประจำหมู่บ้านประมาณ 4-5 ร้าน ไว้ซื้อของใช้ส่วนตัวที่ไม่แพงมาก เช่น บัตรเติมเงิน สบู่ ยาสีฟัน ยาสระผม โฟมล้างหน้า โดยยี่ห้อที่เป็นที่รู้จักมีวางขายในร้านค้าประจำหมู่บ้าน เช่น จอห์นสัน โพรเท็ค ซันซิล บิโอเร และทรอส • หรือไม่ เค้าก็จะซื้อของอุปโภค บริโภคกันที่ร้านขายส่งที่อยู่ในตัวเมือง หรือที่ใกล้เคียงกับหมู่บ้านมากที่สุด ตัวอย่างเช่นการซื้อข้าวสาร เครื่องปรุง เครื่องดื่มต่างๆ โทรศัพท์มือถือ หรือเสื้อผ้า จะซื้อกันแบบอาทิตย์ละครั้งถึง เดือนละครั้ง นิยมไปวันศุกร์เพราะไม่ต้องห่วงสอนการบ้านลูก โดยจะนั่งรถเข้ามาที่ร้านขายส่งที่ว่าแล้วซื้อกลับไปเก็บไว้เยอะๆ • คนชนบทใช้ระบบ “car pool” เพื่อไปซื้อของที่ แมคโคร หรือ โลตัส ในเมือง • ในพื้นที่ที่เจริญมากขึ้น คนเริ่มมีรถใช้กันทุกบ้าน จึงอาจมีการไปซื้อกันเองในแต่ละบ้าน Hypermarket
ไม่เปลี่ยนแบรนด์ง่ายๆ หากคุณภาพที่ใช้อยู่พอรับได้ และหาซื้อง่าย • หากสินค้าที่ใช้อยู่ประจำมีคุณภาพในระดับที่ยอมรับได้ และสามารถหาซื้อได้สะดวกในร้านค้าใกล้บ้านแล้ว คนชนบทส่วนใหญ่ของทุกภาคจะไม่เปลี่ยนยี่ห้อบ่อยๆ • สำหรับปัจจัยสำคัญที่สุดที่ทำให้ชาวชนบทเปลี่ยนไปใช้สินค้ายี่ห้ออื่นที่ใช้ประจำ คือ เป็นสินค้าที่มีคุณภาพดีกว่ายี่ห้อที่ใช้ประจำและเป็นยี่ห้อที่หาซื้อง่ายกว่า • ในเรื่องของการส่งเสริมการขายการลดราคาเป็นเรื่องสำคัญที่จะทำให้ชาวชนบทซื้อสินค้าเพิ่มขึ้นมากทีสุด ต่อมาคือการซื้อ 1 แถม 1
ไม่จำเป็นต้องราคาถูก แต่ต้องไซส์เล็ก ถึงจะโดนใจ • คนชนบททุกวันนี้หันมาซื้อผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ และผลิตภัณฑ์ประเภทของใช้ส่วนตัวมากขึ้น เช่น โลชั่นบำรุงผิวกาย, ผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกาย ,ครีมบำรุงผิวหน้า, น้ำยาปรับผ้านุ่ม ,นมเปรี้ยวและน้ำยารีดผ้าเรียบ โดยคนที่มีรายได้สูงเกินกว่า 10,000 บาทต่อเดือน จะมีแนวโน้มใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้มากขึ้น • โดยจะซื้อสินค้าที่ใช้ประจำวันและสินค้าฟุ่มเฟือยเช่นเหล้า บุหรี่ตามร้านขายของชำในหมู่บ้าน เพราะความเคยชิน • สินค้าฟุ่มเฟือยขนาดเล็กมีโอกาสโต - ดัชมิลขวดพลาสติก - นีเวียขนาดเล็ก - เหล้าขนาด 350 มล. - บะหมี่ และขนมราคา 2-3 บาท • เขาจะซื้อสินค้ายี่ห้อดังในขนาดเล็กและจ่ายเพียงเล็กน้อย • แชมพูแพนทีน และซันซิล แบบซองขายได้ดี • ยอมรับสบู่แอนตี้แบคทีเรีย เช่น เซฟการ์ด ฮาร์โมนี และโพรเท็ค
ขายตรง พนักงานขาย ใช้ได้ดีกับของฟุ่มเฟือย ราคาแพง • สำหรับสินค้าบางหมวด การเข้าถึงด้วยการใช้ร้านค้าในหมู่บ้าน หรือการขายตรงจะเป็นการสะดวกสำหรับเขา • เครื่องใช้ไฟฟ้า • ของใช้กับร่างกาย และเครื่องสำอาง • น้ำมันเครื่อง • อาหารสด • สินค้าที่จัดเป็น “สินค้าฟุ่มเฟือย” คือโยเกิร์ต เหล้า เบียร์ น้ำอัดลม ชาเขียว ขนมขบเคี้ยว โดยเฉพาะข้าวสาร ชาวชนบทจะมีความ Loyalty ใน Brand สูงมากๆ ถ้าร้านขายส่งไหน ไม่มีข้าวที่ตนกิน ก็จะไม่ยอมซื้อข้าวอื่น จะเดินต่อไปที่ร้านอื่น หรือ นั่งรถไปซื้อที่อื่นเลย
โดยพบว่าครัวเรือนส่วนใหญ่โดยพบว่าครัวเรือนส่วนใหญ่ 99% มีทีวี 93% มีรถมอเตอร์ไซค์ 91% มีตู้เย็น 88% มีหม้อหุงข้าวไฟฟ้า 86% มีเตาแก๊ส • คนชนบททุกวันนี้นิยมใช้โทรศัพท์มือถือ - มีเพียง 15% ของบ้านในชนบทที่มีโทรศัพท์พื้นฐานใช้ • 49% หรือประมาณครึ่งหนึ่งของครัวเรือนชาวชนบทมีโทรศัพท์มือถือใช้ • ผู้ที่มีโทรศัพท์มือถือใช้มากกว่ากลุ่มอื่นๆ คือ กลุ่มตัวอย่างในชนบทภาคกลาง (66%) • แต่ละบ้านจะมีโทรศัพท์มือถือตั้งแต่ 1 เครื่อง (67%) ถึง 2 เครื่อง (25%) คนชนบทไม่ได้ยากจน และมีชีวิตลำบากอย่างที่คิด!!! • คนชนบทส่วนใหญ่นิยมความเป็นอยู่ที่ทันสมัย และสะดวกสบายมากขึ้น • เป็นที่น่าสังเกตว่า สัดส่วนของผู้ทำประกันชีวิตในชนบทของทุกภาคเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน (39%) • โดยเฉพาะในกลุ่มที่มีอายุระหว่าง 40-50 ปี (48%) • มีรายได้ครอบครัวสูงมากกว่า 10,000 บาท/เดือน (60%) • คนชนบทส่วนใหญ่ทำประกันชีวิตกับ ธกส. (34%) และบริษัทประกันชีวิตอื่นๆ ได้แก่ ไทยสมุทร (20%) ไทยประกันชีวิต (17%) และ AIA (16%) รวมทั้ง ทำกับสหกรณ์หมู่บ้าน (9%) • คนชนบทนิยมทำประกันชีวิตกันมากขึ้น
การเข้าถึงของสื่อต่างๆ ทำให้คนชนบทมีรสนิยมที่ดีขึ้น ด้วยอิทธิพลของสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ ซึ่งเกือบทุกบ้านมีทำให้คนในชนบทมีรสนิยมดีขึ้น เริ่มเลือกสินค้าที่มีระดับขึ้น เลือกตรายี่ห้อมากกว่ามองที่ราคาเป็นหลักเหมือนในอดีต • 93% ของคนชนบทมี TV ดู • เขาชอบดู “ข่าว” มากกว่า “ละครน้ำเน่า” • ชอบหนังจีนช่อง 3 ที่ฉายตอน 6 โมงเย็น • ชาวชนบทนิยมดูทีวีหลายช่องเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา ไม่ใช่ดูแต่ช่อง 7 อีกต่อไป • นิยมติดจานดาวเที่ยมมากขึ้น แต่ต้องเป็นแบบจ่ายเงินครั้งเดียวตอนติดตั้ง ไม่ใช่แบบ UBC • ไม่สนใจละครที่แสดงถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบเก่า ๆ สนใจชีวิตในเมืองใหญ่ • ชอบดูหนังฮอลลีวูด, เช่า VDO, VCD • ไม่สนใจ “หนังเร่” แต่สนใจ “คาราโอเกะเร่” มากกว่า • ชาวชนบทนิยมฟังวิทยุน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พวกเขาชอบที่จะเปิดทีวีทิ้งไว้เป็นเพื่อนมากกว่าเปิดวิทยุ • ส่วนใหญ่จะเป็นวัยรุ่นที่ฟังวิทยุ • ฟังคลื่น FM มากขึ้น • โรงเรียนตามหมู่บ้านใช้อินเตอร์เนทประกอบการเรียนการสอน เด็กนักเรียนระดับมัธยมขึ้นไปจะใช้อินเตอร์เนทเป็น • บางบ้านมีอินเตอร์เนทใช้ แต่จะมีเฉพาะบ้านที่มีฐานะร่ำรวยเท่านั้น เพราะถือเป็นสิ่งฟุ่มเฟือย
ดาราไม่ใช่ตัวจูงใจในการเลือกซื้อสินค้าอีกต่อไปดาราไม่ใช่ตัวจูงใจในการเลือกซื้อสินค้าอีกต่อไป • การซื้อสินค้าไม่ได้เกี่ยวกับว่ามีดาราอยู่ในโฆษณาการตัดสินใจในการซื้อของขึ้นอยู่กับแพ็กเกจการจ่าย, การคุ้มค่าเงินและการแนะนำปากต่อปากเป็นเรื่องสำคัญกว่าการใช้ดารามาเป็นพรีเซ็นเตอร์เพราะพวกเขาไม่เชื่อว่าดาราจะใช้สินค้านั้นๆจริง • ดาราไม่ใช่ “บุคคลอ้างอิง” ในทุกกรณี • ดาราชายอาจไม่รู้ดีพอเรื่องน้ำมันเครื่องที่เขาโฆษณา • การใช้สินค้าบางชนิดไม่ทำให้ผิวสวย ผมสวย อย่างดารา • ผู้หญิงเปลี่ยนรสนิยมจาก “ผู้ชายที่มีกล้ามเป็นมัด ๆ และผิวคล้ำ”มาเป็น “หนุ่มน้อยหน้าใส” • ส่วนใหญ่ยังชอบผู้หญิงหน้าขาว ผมยาว แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าปฏิเสธ ผู้หญิงผิวน้ำผึ้ง ผมสั้น Power of Word of Mouth!!
10% ออกไปเที่ยวนอกบ้าน กิจกรรมที่ชอบทำเพื่อพักผ่อน คือ อยู่กับบ้าน 90% - โดยกิจกรรมยามว่าง 2 สิ่งที่คนชนบทนิยมทำ “เป็นประจำ/ค่อนข้างบ่อย” ได้แก่ “ดูโทรทัศน์” และ “นั่งคุยกับเพื่อนบ้าน” พักผ่อนอยู่กับบ้าน + ที่มา : คุณธนะพันธ์ (โออิชิ)
อาชีพที่มีอนาคต 1). ขนมขบเคี้ยว (เครียด) 2). Fast Food ราคาไม่แพง (สะดวกรวดเร็ว) 3). เครื่องสำอางผู้ชาย 4). ผู้สูงอายุ, คนโสด (ประชากรศาสตร์) 5). On Line (อยู่กับบ้าน) 6). รับซ่อม (ไม่ลงทุน) 7). การศึกษา (เศรษฐกิจ) 8). ธุรกิจสีเขียว, Organic (สุขภาพ) กรุงเทพธุรกิจ
อาชีพที่รัฐบาลส่งเสริมอาชีพที่รัฐบาลส่งเสริม 1). อาหาร 2). Creative Product 3). ท่องเที่ยว 4). Logistics 5). Green Product 6). พลังงานทางเลือก ประชาชาติธุรกิจ
“โอกาส เงินทอง ความสุขและสิ่งดีงาม กองอยู่เต็มโลก รอให้คุณเปิดหัวใจเห็นมัน” ที่มา : ฐิตินาถ ณ พัทลุง
คุณลักษณะของผู้ประกอบการPersonal Entrepreneurial Characteristics 1). ศักยภาพแห่งความสำเร็จ (Achievement Competencies) 2). ศักยภาพแห่งการวางแผน (Planning Competencies) 3). ศักยภาพแห่งอำนาจ (Power Competencies)
คุณลักษณะของผู้ประกอบการPersonal Entrepreneurial Characteristics 1). ศักยภาพแห่งความสำเร็จ (Achievement Competencies) 2). ศักยภาพแห่งการวางแผน (Planning Competencies) 3). ศักยภาพแห่งอำนาจ (Power Competencies)
1). ศักยภาพแห่งความสำเร็จ 1). การแสวงหาโอกาส (Opportunity Seeking) 2). ความมุ่งมั่น (Persistence) 3). ความมีพันธะ ผูกพัน และรับผิดชอบในงาน (Commitment to Work Contract) 4). ความต้องการใฝ่หาด้านคุณภาพ และ ประสิทธิภาพ (Demand for Quality and Efficiency) 5). ความกล้าเสี่ยง (Risk Taking)
คุณลักษณะของผู้ประกอบการPersonal Entrepreneurial Characteristics 1). ศักยภาพแห่งความสำเร็จ (Achievement Competencies) 2). ศักยภาพแห่งการวางแผน (Planning Competencies) 3). ศักยภาพแห่งอำนาจ (Power Competencies)
2). ศักยภาพแห่งการวางแผน 1). การตั้งเป้าหมาย (Goal Setting) 2). การประเมินอย่างมีระบบ (Systematic Planning and Monitoring) 3). การแสวงหาข้อมูล (Information Seeking)
คุณลักษณะของผู้ประกอบการPersonal Entrepreneurial Characteristics 1). ศักยภาพแห่งความสำเร็จ (Achievement Competencies) 2). ศักยภาพแห่งการวางแผน (Planning Competencies) 3). ศักยภาพแห่งอำนาจ (Power Competencies)
3). ศักยภาพแห่งอำนาจ 1). การชี้ชวน ชักชวน และการมีเครือข่าย (Persuasion and Networking) 2). ความเชื่อมั่นในตนเอง (Self Confidence)
ผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ 1). ความกล้าเสี่ยง 2). ต้องการมุ่งความสำเร็จ 3). ความรู้จักผูกพันต่อเป้าหมาย 4). ความสามารถโน้มน้าวจิตใจผู้อื่น 5). ยืนหยัดต่อสู้และทำงานหนัก 6). มีความกระตือรือล้นและไม่อยู่นิ่ง 7). เรียนรู้จากประสบการณ์ในอดีต 8). มีความรับผิดชอบ 9). มีความเชื่อมั่นตนเอง 10). แสวงหาความรู้เพิ่มเติม 11). มีความสามารถในการนำ บริหาร 12). มีความคิดสร้างสรรค์ 13). สามารถปรับตามสภาพแวดล้อม 14). ดูสภาพเหตุการณ์ปัจจุบันเป็นหลัก 15). ตั้งความหวังทีมงานไว้เหมาะสม 16). กล้าตัดสินใจ มุมานะ พยายาม 17). ไม่ทำอะไรเกินตัว 18). มีการร่วมมือในการแข่งขัน 19). มีความซื่อสัตย์ 20). ประหยัดเพื่ออนาคต 21). รับผิดชอบต่อสังคม
ศักยภาพแห่งการวางแผน ศักยภาพแห่งการวางแผน 1). การตั้งเป้าหมาย (Goal Setting) 2). การประเมินอย่างมีระบบ (Systematic Planning and Monitoring) 3). การแสวงหาข้อมูล (Information Seeking)
แผนธุรกิจ แผนการตลาด แผนการผลิต/บริการ แผนองค์กรและการจัดการ แผนการเงิน งบลงทุน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบดุล
แผนธุรกิจ แผนการตลาด แผนการผลิต/บริการ แผนองค์กรและการจัดการ แผนการเงิน งบลงทุน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบดุล
แผนการตลาด ผลิตภัณฑ์ / บริการ ผลิตภัณฑ์ / บริการ ความต้องการของตลาด ความต้องการของตลาด แบ่งส่วนตลาด แบ่งส่วนตลาด ลูกค้าเป้าหมาย ลูกค้าเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ตลาดเป้าหมาย พื้นที่ตลาดเป้าหมาย ส่วนแบ่งตลาด ส่วนแบ่งตลาด เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์/บริการ กับ คู่แข่ง เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์/บริการ กับ คู่แข่ง ตำแหน่งผลิตภัณฑ์ / บริการ ตำแหน่งผลิตภัณฑ์ / บริการ วิเคราะห์ SWOT วิเคราะห์ SWOT กลยุทธ์ทั้ง 4 ด้าน กลยุทธ์ทั้ง 4 ด้าน ราคาขาย ราคาขาย การส่งเสริมการขาย การส่งเสริมการขาย 5 Force 5 Force ช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการจัดจำหน่าย พยากรณ์ยอดขาย พยากรณ์ยอดขาย ขายสด / ขายเชื่อ ขายสด / ขายเชื่อ ค่าใช้จ่ายทางการตลาด ค่าใช้จ่ายทางการตลาด
แผนธุรกิจ แผนการตลาด แผนการผลิต/บริการ แผนองค์กรและการจัดการ แผนการเงิน งบลงทุน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบดุล
แผนการผลิต/บริการ ที่ตั้ง ที่ตั้ง ทรัพย์สิน/เครื่องจักร ทรัพย์สิน/เครื่องจักร เทคโนโลยี เทคโนโลยี กระบวนการผลิต/บริการ กระบวนการผลิต/บริการ กำลังการผลิต กำลังการผลิต การคำนวณต้นทุนการผลิต การคำนวณต้นทุนการผลิต พยากรณ์ยอดซื้อวัตถุดิบ พยากรณ์ยอดซื้อวัตถุดิบ ค่าแรงงานผันแปร ค่าแรงงานผันแปร ค่าแรงงานคงที่ ค่าแรงงานคงที่ ค่าใช้จ่ายในการผลิตผันแปร ค่าใช้จ่ายในการผลิตผันแปร ซื้อสด / ซื้อเชื่อ ซื้อสด / ซื้อเชื่อ ค่าใช้จ่ายในการผลิตคงที่ ค่าใช้จ่ายในการผลิตคงที่
แผนธุรกิจ แผนการตลาด แผนการผลิต/บริการ แผนองค์กรและการจัดการ แผนการเงิน งบลงทุน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบดุล
แผนองค์กรและการจัดการแผนองค์กรและการจัดการ รูปแบบองค์กรธุรกิจ โครงสร้างองค์กร โครงสร้างองค์กร ประสบการณ์+คุณสมบัติ ประสบการณ์+คุณสมบัติ ทรัพย์สินในสำนักงาน ทรัพย์สินในสำนักงาน ค่าใช้จ่ายก่อนดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายก่อนดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
แผนธุรกิจ แผนการตลาด แผนการผลิต/บริการ แผนองค์กรและการจัดการ แผนการเงิน งบลงทุน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบดุล
แผนธุรกิจ แผนการตลาด แผนการผลิต/บริการ แผนองค์กรและการจัดการ การลงทุนใน เครื่องจักรอุปกรณ์ การลงทุนใน เครื่องใช้สำนักงาน ประมาณยอดขาย ค่าใช้จ่ายทางการตลาด ต้นทุนและค่าใช่จ่าย ในการผลิต/บริการ ค่าใช่จ่ายในการบริหาร แผนการเงิน งบลงทุน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบดุล
แผนองค์กรและการจัดการแผนองค์กรและการจัดการ รูปแบบองค์กรธุรกิจ รูปแบบธุรกิจ โครงสร้างองค์กร โครงสร้างองค์กร ประสบการณ์+คุณสมบัติ ประสบการณ์+คุณสมบัติ ทรัพย์สินในสำนักงาน ทรัพย์สินในสำนักงาน ค่าใช้จ่ายก่อนดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายก่อนดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
องค์กร อาสาสมัคร กระทรวง,ทบวง,กรม ห้างหุ้นส่วนจำกัด สถาบัน ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล บริษัทจำกัด หอการค้า บริษัทมหาชนจำกัด วิสาหกิจชุมชน บุคคลธรรมดา รัฐวิสาหกิจ กิจการร่วมค้า คณะบุคคล โครงการ อปท. สมาคม มูลนิธิ ห้างหุ้นส่วนสามัญ นิติบุคคลต่างประเทศ สหกรณ์ สมาพันธ์ อื่น ๆ เอ็นจีโอ คอนซอร์เตี้ยม
องค์กรทางเศรษฐกิจ อาสาสมัคร กระทรวง,ทบวง,กรม ห้างหุ้นส่วนจำกัด สถาบัน ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล บริษัทจำกัด หอการค้า บริษัทมหาชนจำกัด วิสาหกิจชุมชน บุคคลธรรมดา รัฐวิสาหกิจ กิจการร่วมค้า คณะบุคคล โครงการ อปท. สมาคม มูลนิธิ ห้างหุ้นส่วนสามัญ นิติบุคคลต่างประเทศ สหกรณ์ สมาพันธ์ อื่น ๆ เอ็นจีโอ คอนซอร์เตี้ยม
องค์กรทางเศรษฐกิจ ห้างหุ้นส่วนจำกัด สถาบัน ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล บริษัทจำกัด หอการค้า บริษัทมหาชนจำกัด วิสาหกิจชุมชน บุคคลธรรมดา รัฐวิสาหกิจ กิจการร่วมค้า คณะบุคคล สมาคม ห้างหุ้นส่วนสามัญ นิติบุคคลต่างประเทศ สหกรณ์ สมาพันธ์ อื่น ๆ คอนซอร์เตี้ยม
ไม่แสวงหากำไร ห้างหุ้นส่วนจำกัด สถาบัน ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล บริษัทจำกัด หอการค้า บริษัทมหาชนจำกัด วิสาหกิจชุมชน บุคคลธรรมดา รัฐวิสาหกิจ กิจการร่วมค้า คณะบุคคล สมาคม ห้างหุ้นส่วนสามัญ นิติบุคคลต่างประเทศ สหกรณ์ สมาพันธ์ อื่น ๆ คอนซอร์เตี้ยม
องค์กรธุรกิจ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด วิสาหกิจชุมชน บุคคลธรรมดา กิจการร่วมค้า ห้างหุ้นส่วนสามัญ นิติบุคคลต่างประเทศ คอนซอร์เตี้ยม
องค์กรธุรกิจ 1). บุคคลธรรมดา 2). ห้างหุ้นส่วนสามัญ, คณะบุคคล 3). ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล 4). ห้างหุ้นส่วนจำกัด 5). บริษัทจำกัด, บริษัทมหาชนจำกัด 6). กิจการร่วมค้า, นิติบุคคลต่างประเทศ 7). มูลนิธิ, สมาคม และสหกรณ์
กฎหมายธุรกิจ - กฎหมายเกี่ยวกับองค์กรธุรกิจ - กฎหมายเกี่ยวกับบัญชี - กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร
กำไร Business SWOT 1.Man 2. Money 3.Material 4.Machine Environment TQM Ethics Bench Marking ISO Politic Legal 5’ S Economic R&D Social BSC+KPI IT POSLC Strategy English M & S P & M HR F & A CRM TQM EM Managerial Accounting IMC ERP+MRP HRD Financial Accounting 6 Sixma HRM 4P STP JIT CBM
กระบวนการจัดทำรายงานและยื่นแบบภาษีกระบวนการจัดทำรายงานและยื่นแบบภาษี เอกสาร งบกำไรขาดทุน สมุด รายวัน กระดาษ ทำการ แยก ประเภท งบดุล หมายเหตุฯ รายงานภาษีซื้อ รายงานสินค้า รายงานภาษีขาย รายงานภาษีหักณที่จ่าย รายงานอื่นๆ ภพ.30 ภธ.40 ภงด.1,2,3,50,5153,54,55 อส.4ข.
นายดำ ทรัพย์สิน เงินสด20,000 ลูกหนี้ที่ให้เขายืม 50,000 รถจักรยานยนต์30,000 รถยนต์400,000 บ้าน800,000 ที่ดิน1,000,000 รวม2,300,000 นายแดง ทรัพย์สิน เงินสด10,000 จักรยาน1,000 โต๊ะ+เก้าอี้20,000 รถยนต์100,000 สินค้ามีไว้ขาย200,000 เงินฝากธนาคาร9,000 รวม340,000 ใครรวยกว่ากัน
นายดำ ทรัพย์สิน2,300,000 หนี้สิน เจ้าหนี้การค้า20,000 ยืมจากญาติพี่น้อง 1,050,000 เจ้าหนี้ธนาคาร(บ้านและที่ดิน) 1,030,000 รวมหนี้สิน2,100,000 คงเหลือส่วนของนายดำ200,000 นายแดง ทรัพย์สิน340,000 หนี้สิน เจ้าหนี้สินค้า10,000 ค่าโทรศัพท์ยังไม่ได้จ่าย1,000 รวมหนี้สิน11,000 คงเหลือส่วนของนายแดง329,000 ใครรวยกว่ากัน
ฐานะทางการเงินของนายแดงฐานะทางการเงินของนายแดง สมการบัญชี ทรัพย์สิน–หนี้สิน=ส่วนของนายแดง(ทุน) 340,000 – 11,000 = 329,000 ทรัพย์สิน = หนี้สิน+ทุน 340,000 = 11,000 + 329,000 ทรัพย์สิน = ส่วนของนายแดง(ทุน) + หนี้สิน 340,000 = 329,000 + 11,000 ทรัพย์สิน–ทุน=หนี้สิน 340,000 – 329,000 = 11,000
หนี้สิน เจ้าหนี้สินค้า10,000 ค่าโทรศัพท์ยังไม่ได้จ่าย1,000 รวมหนี้สิน11,000 คงเหลือส่วนของนายแดง ทุน329,000 รวม340,000 งบดุล(แบบบัญชี) Dr. นายแดง Cr. ทรัพย์สิน เงินสด10,000 จักรยาน1,000 โต๊ะ+เก้าอี้20,000 รถยนต์100,000 สินค้ามีไว้ขาย200,000 เงินฝากธนาคาร 9,000 รวม340,000 SOURCE OF FUND USE OF FUND