310 likes | 881 Views
ระบบดูà¹à¸¥à¹€à¸à¹‰à¸²à¸£à¸°à¸§à¸±à¸‡à¹‚รค ซึมเศร้า à¹à¸¥à¸° ที่มาขà¸à¸‡à¸à¸²à¸£à¸žà¸±à¸’นา CPG ในà¸à¸²à¸£à¸à¸šà¸£à¸¡à¹ƒà¸Šà¹‰à¹à¸™à¸§à¸—าง à¸à¸²à¸£à¸ˆà¸±à¸”à¸à¸²à¸£à¹‚รคซึมเศร้าสำหรับà¹à¸žà¸—ย์เวชปà¸à¸´à¸šà¸±à¸•à¸´à¸—ั่วไป ในสถานบริà¸à¸²à¸£à¸£à¸°à¸”ับปà¸à¸¡à¸ ูมิà¹à¸¥à¸°à¸—ุติย ภูมิ สนับสนุนโดย à¸à¸£à¸¡à¸ªà¸¸à¸‚ภาพจิต à¸à¸£à¸°à¸—รวงสาธารณสุข. Outline ระบบดูà¹à¸¥à¹€à¸à¹‰à¸²à¸£à¸°à¸§à¸±à¸‡à¹‚รคซึมเศร้าà¹à¸¥à¸°à¸—ี่มาขà¸à¸‡à¸à¸²à¸£à¸žà¸±à¸’นา CPG.
E N D
ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าและที่มาของการพัฒนา CPGในการอบรมใช้แนวทางการจัดการโรคซึมเศร้าสำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปในสถานบริการระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิสนับสนุนโดยกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
Outline ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าและที่มาของการพัฒนา CPG ที่มาของระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า (ปัญหาของระบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าของไทย) มาตรการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า กระบวนการการดูแลรักษาตามระบบดูแลเฝ้าระวัง ความสำคัญและขั้นตอนการพัฒนา CPG และการพิจารณาหลักฐานทางวิชาการ
สภาพปัญหาของการดูแลรักษาโรคซึมเศร้าของไทย • แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปทุกระดับไม่มั่นใจในการวินิจฉัยโรคซึมเศร้า • มีความจำกัดของการดูแลรักษาทั้ง การรักษาด้วยยา และทางจิตสังคม • ไม่มีระบบติดตามเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำของโรคที่มีประสิทธิผล Awareness Diagnosis Treatment Accessibility Surveillance Prevention Result of situation analysis fiscal 2006 ประชาชนส่วนใหญ่ขาดการตระหนัก มีความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องคิดว่าอาการซึมเศร้าเป็นเรื่องธรรมดาเป็นแล้วก็หายเองและมีอคติต่อความเจ็บป่วยจิตเวชรวมทั้งโรคซึมเศร้า การเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าน้อยมากๆ (3.34%) ขาดเทคโนโลยีและแนวทางการป้องกันโรคซึมเศร้าที่มีประสิทธิภาพ
ความจริงที่ซ่อนเร้นในการรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าความจริงที่ซ่อนเร้นในการรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า (100%) ได้รับยาต้านเศร้า (4.4%) ไม่ได้รับการรักษา (95.6%) ได้ยาในปริมาณที่เพียงพอ สำหรับการรักษา*(?%) : ไม่มารักษา—ไม่ได้รับการวินิจฉัย—วินิจฉัยแต่ได้รับการรักษา--ได้รับการรักษาแต่ไม่ต่อเนื่องหรือปริมาณยาไม่พอ *6-month treatment with an adequate dose leading to a response Tylee A et al, IntClinPsychopharmacol, 1999, 14 (3): 139–51; Lépine, JP et al., IntClinPsychopharmacol, 1997, 12: 19–29
5 6 4 3 1 3 2 7 การพัฒนาระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า พ.ศ. 2549-2552 ขั้นตอน 1-3 ดำเนินการปี 2549 ดำเนินการ ปี 2550 Pilot study จังหวัดยโสธร วิเคราะห์สถานการณ์ การพัฒนาระบบ/ เครื่องมือ/เทคโนโลยี ทบทวน องค์ความรู้ ติดตาม ประเมินผล ขั้นตอนที่ 5-6 ดำเนินการ ปี 2551 พัฒนาเครื่องมือ เครื่องมือ คัดกรอง/ประเมิน พัฒนาเทคโนโลยีส่งเสริมป้องกัน ปรับปรุงเครื่องมือ เทคโนโลยีและระบบ การส่งเสริมป้องกัน พัฒนาแนวทางการดูแลรักษา การดูแลรักษา ขยายผล ทั่วประเทศ ปี 2552 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง และข้อมูลสารสนเทศ ทดลองขยายผล ใน 22 จังหวัด ระบบการเฝ้าระวัง
มาตรการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้ามาตรการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า ลดอคติในเรื่องโรคซึมเศร้าในบุคลากรสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป โดยสร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ลดการเกิดโรคในผู้ที่เสี่ยงโดยการค้นหาและส่งเสริมป้องกัน ลดระยะเวลาและความรุนแรงของอาการซึมเศร้า โดยผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างรวดเร็วตั้งแต่เริ่มมีอาการ ด้วยวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพและนานพอ ป้องกันผลแทรกซ้อนที่จะเกิดจากโรคซึมเศร้า เช่น การฆ่าตัวตาย ป้องกันการกลับซ้ำและการกลับเป็นใหม่ของโรค
ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า
เครื่องมือ/เทคโนโลยีที่สำคัญในระบบดูแลเฝ้าระวังเครื่องมือ/เทคโนโลยีที่สำคัญในระบบดูแลเฝ้าระวัง 2Q แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2 คำถาม DS8 แบบคัดกรองซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 9Q แบบประเมินอาการซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม 8Q แบบประเมินฆ่าตัวตายด้วย 8 คำถาม
การคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าการคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse คัดกรอง 2Q หรือ DS8 การคัดแยกผู้ป่วยออก จากกลุ่มไม่ป่วยเพื่อค้นหา และนำผู้ป่วยข้าสู่ กระบวนการช่วยเหลือ
กลุ่มเสี่ยงที่ควรคัดกรองโรคซึมเศร้ากลุ่มเสี่ยงที่ควรคัดกรองโรคซึมเศร้า กลุ่มที่สามารถประมาณการจำนวนได้ กลุ่มที่ประมาณการจำนวนได้ยาก • ผู้ป่วยเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ไตวาย มะเร็ง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง • ผู้ป่วยสูงอายุ • ผู้ที่ตั้งครรภ์หรือหลังคลอด • ผู้ที่มีปัญหาสุรา สารเสพติด • กลุ่มที่มาด้วยอาการซึมเศร้าชัดเจน • ผู้ป่วยที่มีอาการทางกายเรื้อรังหลายอาการที่หาสาเหตุไม่ได้ • กลุ่มที่มีการสูญเสีย (คนที่รักหรือสินทรัพย์จำนวนมาก)
ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวังความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง Depression Depressive disorders Remission Relapse ประเมิน 9Q - ปกติ - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง ประเมินผู้ป่วย หรือความรุนแรง และการเปลี่ยนแปลง ของโรคซึมเศร้า ระระดับความรุนแรง
การแปลผลการใช้แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q ค่าจุดตัด (cut off score)= 7 คะแนน เป็นจุดตัดที่แบ่งระดับการวินิจฉัยหรือจำแนกคนที่ป่วยออกจากคนไม่ป่วย (cut off level) โดยเลือกจากค่า ความไว (Sensitivity) 75.68% และความจำเพาะสูง (Specificity) 92.85% เป็นระดับที่สูงและสอดคล้องกับบริบทของโรคซึมเศร้าในคนไทย
ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การค้นหาผู้ป่วยโรคซึมเศร้า: คัดกรองด้วย 2Q หรือ DS8 รายงาน/สรุปผล บันทึกผลทาง www บันทึกผลทาง www Depression Surveillance System ประเมินโรคซึมเศร้า ด้วย 9Q ติดตามเฝ้าระวังการกลับซ้ำ ด้วย 9Q บันทึกผลทาง www บันทึกผลทาง www ประเมินการฆ่าตัวตาย ด้วย 8Q ดูแลรักษาโรคซึมเศร้าและ ด้วยแนวทางการจัดการ ตามระดับความรุนแรง บันทึกผลทาง www
กระบวนการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้ากระบวนการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า คัดกรอง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยงด้วย 2Q หรือ DS8 ให้การรักษา ตามมาตรฐาน การรักษา +ve +ve +ve แจ้งผลและ ให้สุขภาพจิต ศึกษา แจ้งผลและให้สุขภาพจิตศึกษา ≥ 7 ประเมินด้วย 9Q ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ≥ 7 ≥ 7 ประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q 8Q ≥17 ประเมิน การฆ่าตัวตายด้วย 8Q วินิจฉัยโรคซึมเศร้าโดยแพทย์ ≥7 9Q ≥19 ผลประเมินด้วย 9Q Non MDD MDD ติดตามด้วย 9Qหรือ/และ8Q ทุกเดือนเป็นเวลา 1 ปี Mild 9Q=7-12 Csg+Edญาติ Moderate 9Q=13-18 Rx+Csg+Edญาติ ≥7 Severe 9Q≥19 มีปัญหาทางสังคมจิตใจ Csg ติดตามด้วย 9Q ซ้ำอีก 1 เดือน Education ไม่มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ติดตามการรักษาจน 9Q<7 ทุก 1 เดือนเป็นเวลา 6 เดือน แล้วลดยาลงจนหยุดได้
บทบาทของแพทย์ในระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าบทบาทของแพทย์ในระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า CPG for GP แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปไม่มั่นใจ ในการวินิจฉัยและให้การรักษา Diagnosis Treatment
Introduction • จัดพิมพ์ฉบับร่าง • ให้คณะผู้เชี่ยวชาญประเมิน • ปรึกษาผู้เกี่ยวข้องกลุ่มอื่นๆ • ทดลองใช้ ประเมินผลการใช้ • จัดทำแผนการนำไปปฏิบัติ • ประเมินผล และพัฒนาต่อเนื่อง การจัดทำ กำหนดทีมงานยกร่าง กำหนดขอบเขตของปัญหา ครอบคลุมถึงโรคซึมเศร้าทุกชนิด กำหนด Health outcome ที่ต้องการคือ การหายทุเลาทบทวนหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ประชุมยกร่างแนวปฏิบัติ 8 ครั้ง
Level of evidence ปรับปรุงโดย นพ.ธรณินทร์ กองสุข จาก CEBM level of Evidence; www.cebm.net, originally created by Dave Sackett, Susanne Fletcher. March 2009
Grades of Recommendations ปรับปรุงโดย นพ.ธรณินทร์ กองสุข จาก CEBM level of Evidence; www.cebm.net, originally created by Dave Sackett, Susanne Fletcher. March 2009