340 likes | 784 Views
โดย ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายสาธารณสุข ในเชิงปฏิบัติการ. องค์ประกอบของการดำรงชีวิตที่ดี. ที่/ทางสาธารณะ. อยู่ใน อาคาร. เอื้อต่อ สุขภาพ. ถูกสุขลักษณะ. ถ่าย สิ่งปฏิกูล. สะอาด / ปลอดภัย. ชุมชน. มนุษย์. กินอาหาร. สิ่งเป็นพิษ. ทำงานใน สถาน ที่. ทิ้ง มูลฝอย.
E N D
โดยศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุขโดยศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายสาธารณสุข ในเชิงปฏิบัติการ
องค์ประกอบของการดำรงชีวิตที่ดีองค์ประกอบของการดำรงชีวิตที่ดี ที่/ทางสาธารณะ อยู่ใน อาคาร เอื้อต่อ สุขภาพ ถูกสุขลักษณะ ถ่ายสิ่งปฏิกูล สะอาด/ ปลอดภัย ชุมชน มนุษย์ กินอาหาร สิ่งเป็นพิษ ทำงานในสถานที่ ทิ้งมูลฝอย ปลอดภัย ก่อเหตุรำคาญ สถานประกอบการ /โรงงาน
1 สุขลักษณะของตลาด
สารบัญญัติ พรบ. สธ. เรื่อง “ตลาด” ตลาด สถานที่ซึ่งปกติจัดไว้ให้ผู้ค้า ใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจำหน่ายสินค้าประเภท สัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้หรืออาหารอันมีสภาพเป็น ของสด ประกอบ หรือปรุงแล้ว ของเสียง่าย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีสินค้าประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม หมายรวมถึง บริเวณซึ่งจัดไว้เพื่อการดังกล่าวเป็นประจำ / ครั้งคราว / ตามวันที่กำหนด
ผู้จัดตั้งลาด เอกชน กระทรวง ทบวง กรม ไม่ต้องขออนุญาต แต่ต้องปฏิบัติตาม เปลี่ยนแปลง ขยาย/ลด ขนาดตลาด ต้องขอ อนุญาต เงื่อนไขเฉพาะที่ แจ้งเป็นหนังสือ เจ้าพนักงาน ท้องถิ่น ต้องปฏิบัติตาม มีอำนาจ ออก ข้อกำหนดของท้องถิ่น
เจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น • สุขลักษณะของตลาด (ม.35) • ที่ตั้ง แผนผัง สิ่งปลูกสร้าง • การจัดสถานที่ การวางสิ่งของ • การรักษาความสะอาด • การกำจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอย การระบายน้ำทิ้ง • การป้องกันเหตุรำคาญและการระบาดของโรค • สุขลักษณะของผู้ขายและ ผู้ช่วยขายในตลาด (ม.37)
การออกกฎกระทรวงตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข กฎกระทรวง รมต.สธ. ออก 1. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ควบคุม กำกับดูแล 2 กำหนดมาตรฐานความเป็นอยู่ ที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต และ วิธีดำเนินการเพื่อตรวจสอบ แนะนำ กรรมการ สธ. ติดตาม / สนับสนุน ราชการส่วนท้องถิ่น/ เจ้าพนักงานท้องถิ่น เขตราชการส่วนท้องถิ่นที่กฎกระทรวงมีผลใช้บังคับ ควบคุมกำกับกิจการให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง
ลักษณะตลาด 3 ประเภท กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2542) ตลาดประเภทที่ 1 มีโครงสร้างอาคาร ดำเนินกิจการเป็นประจำ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ตลาดประเภทที่ 3 ไม่มีโครงสร้างอาคาร ดำเนินกิจการเป็นครั้งคราว ตามวันที่กำหนด ตลาดประเภทที่ 2 ไม่มีโครงสร้างอาคาร ดำเนินกิจการเป็นประจำ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ผลของกฎกระทรวง ใช้บังคับตั้งแต่ 2 ก.พ. 42 เขต กทม. เมืองพัทยา เทศบาล ผู้ได้รับอนุญาตอยู่ก่อนที่กฎกระทรวงใช้บังคับ ต้องปรับปรุงให้ถูกต้องภายในเวลาที่กำหนด บทเฉพาะกาล - ไม่เกิน 3 ปี สำหรับตลาดประเภทที่ 1 (1 ก.พ.45) - ไม่เกิน 2 ปี สำหรับตลาดประเภทที่ 2 (1 ก.พ.44) - กรณีผู้ได้รับใบอนุญาตร้องขอและมีเหตุอันสมควร จพถ. มีอำนาจขยายเวลาได้ ครั้งหนึ่ง แต่ไม่เกิน 2 ปี
แนวทางดำเนินการของราชการส่วนท้องถิ่นแนวทางดำเนินการของราชการส่วนท้องถิ่น 1. ตรวจสอบข้อกำหนดของท้องถิ่น แล้วแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้สอดคล้องกฎกระทรวง 2. สำรวจตลาดในเขตพื้นที่ ว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่ 3. ออกคำแนะนำให้ผู้ประกอบกิจการตลาดแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้อง ตามข้อกำหนดของท้องถิ่นหรือกฎกระทรวง
2 สถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร และ การจำหน่ายสินค้าประเภทอาหาร ในที่หรือทางสาธารณะ
สถานที่จำหน่ายอาหาร อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใดๆ ที่มิใช่ที่/ทางสาธารณะ (และมิใช่เป็นการขายของในตลาด) ที่จัดไว้เพื่อประกอบ/ ปรุงอาหาร จนสำเร็จ และจำหน่ายให้ผู้ซื้อสามารถบริโภคได้ทันที ทั้งนี้ไม่ว่าจัดบริเวณไว้สำหรับการบริโภค ณ ที่นั้น หรือนำไปบริโภคที่อื่นก็ตาม สถานที่สะสมอาหาร อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใดๆ ที่มิใช่ที่/ ทางสาธารณะ (และมิใช่เป็นการขายของในตลาด) ที่จัดไว้สำหรับเก็บอาหารอัน มีสภาพเป็นของสด หรือของแห้ง หรือ อาหารรูปลักษณะอื่นใด ที่ผู้ซื้อ ต้องนำไปทำ ประกอบ ปรุงเพื่อบริโภค ในภายหลัง
ผู้จัดตั้งสถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร กรณีที่มีพื้นที่เกินกว่า 200 ตร.ม. และมิใช่ การขายของในตลาด กรณีที่มีพื้นที่ไม่เกิน 200 ตร.ม. และมิใช่ การขายของในตลาด ปฏิบัติตาม ขออนุญาต แจ้ง ข้อกำหนดของท้องถิ่น เจ้าพนักงานท้องถิ่น
เจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น • สุขลักษณะสถานที่จำหน่าย/ สะสมอาหาร • ที่ตั้ง การใช้ การดูแลรักษาสถานที่ • อาหาร กรรมวิธีการจำหน่าย ทำ • ประกอบ ปรุง เก็บ สะสมอาหาร • สุขวิทยาส่วนบุคคล • ภาชนะ อุปกรณ์ น้ำใช้ และของใช้อื่นๆ • การป้องกันเหตุรำคาญ • และการป้องกันโรคติดต่อ
การควบคุมเรื่องการจำหน่ายสินค้า ในที่หรือทางสาธารณะ ผู้จำหน่ายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ ขออนุญาต • ชนิด/ประเภทสินค้า • ลักษณะการจำหน่าย • สถานที่ขาย • เงื่อนไขอื่น ๆ เจ้า พนักงาน ท้องถิ่น ถ้าเปลี่ยน แปลง ต้อง ปฏิบัติ ตาม ต้องแจ้ง มีอำนาจ ประกาศเขต ข้อกำหนดของท้องถิ่น
เจ้าพนักงานท้องถิ่น ร่วมกับเจ้า พนักงานจราจร ข้อกำหนดของท้องถิ่น • สุขลักษณะเกี่ยวกับ • ผู้ขาย/ผู้ช่วยขาย • กรรมวิธีการจำหน่าย ทำ • ประกอบ ปรุง เก็บ/สะสม • ความสะอาดภาชนะ น้ำใช้ ของใช้ • การจัดวาง/ การเร่ขาย • เวลาจำหน่าย • ป้องกันเหตุรำคาญ/ โรคติดต่อ ประกาศเขต • ห้ามขายหรือซื้อโดยเด็ดขาด • ห้ามขายสินค้าบางชนิด • ห้ามขายสินค้าตามกำหนด เวลา • เขตห้ามขายตามลักษณะ • กำหนดเงื่อนไขการจำหน่าย ปิดที่สำนักงานฯ และบริเวณที่กำหนดเป็นเขต และระบุวันบังคับ โดยไม่น้อยกว่า 15 วัน นับแต่วันประกาศ
3 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
ผลการใช้บังคับ กทม. เทศบาลตำบล 6 ต.ค. 45 เมืองพัทยา อบจ. 6 ต.ค. 46 อบต. เทศบาลนคร เทศบาลเมือง อาจประกาศยกเว้น การเก็บ การขน การกำจัด สถานบริการ การสาธารณสุข ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย
กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ภายใต้บังคับตามกฎกระทรวงกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ภายใต้บังคับตามกฎกระทรวง ราชการส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับมอบจากราชการส่วนท้องถิ่น สถานบริการการสาธารณสุข ประชาชน ผู้ก่อให้เกิด มูลฝอยติดเชื้อ ผู้ได้รับอนุญาต รับทำการเก็บ ขน กำจัด โดยทำเป็นธุรกิจ ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ผู้ได้รับมอบจากราชการส่วนท้องถิ่น สถานบริการการสาธารณสุข ราชการ ส่วนท้องถิ่น สถานพยาบาล/ สัตว์ของราชการ ห้องปฏิบัติการฯ ผู้ได้รับอนุญาต ราชการส่วนท้องถิ่นหลายแห่ง เก็บ /ขน เก็บ ขน กำจัด การกำจัด 1 คน (วท.) 2 คน (วท.+วศ.) 1 คน (วท./ วศ.) 2 คน (วท.+วศ.)
ขอบเขตการควบคุม ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย สถานบริการ การสาธารณสุข ราชการส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับมอบ จากราชการ ส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับอนุญาตรับทำ การเก็บ ขน กำจัด โดยทำเป็นธุรกิจ กรณีทีมีการกำจัดเองต้องแจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณาตรวจสอบ (ภายใน 90 วัน) • ต้องปฏิบัติให้ถูกสุขลักษณะเรื่องการเก็บรวบรวม ขน กำจัดตามกฎกระทรวง • ต้องจัดให้มีบุคลากร /แต่งตั้งผู้รับผิดชอบที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาตรี • ดูแลระบบการเก็บ ขน กำจัด (ภายใน 90 วัน) • ต้องจัดให้ผู้ปฏิบัติ เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
การควบคุมดูแลการเก็บ ขน และกำจัด มูลฝอยติดเชื้อของราชการส่วนท้องถิ่น จัดให้มีสถานที่ทิ้งในที่สาธารณะ และกำหนดวิธีการกำจัดในท้องถิ่น จัดให้มีผู้รับผิดชอบอย่างน้อย 1 คน (วุฒิปริญญาตรี วิทยาศาสตร์/ วิศวกรรม) ดำเนินการเก็บขนและกำจัดตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง ควบคุมดูแลสถานบริการการสาธารณสุข & ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตรายให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ควบคุมดูแลผู้รับมอบ /ผู้ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง อาจร่วมกันหลายท้องถิ่นในการดำเนินการร่วมกันได้
4 กิจการสูบสิ่งปฏิกูล
อำนาจหน้าที่ของท้องถิ่นในการจัดการสิ่งปฏิกูลอำนาจหน้าที่ของท้องถิ่นในการจัดการสิ่งปฏิกูล ตราข้อกำหนดของท้องถิ่น การบริหารจัดการ • กำหนดหลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะเพื่อควบคุม • ประชาชนทั่วไป • ผู้ประกอบกิจการ • รถสูบสิ่งปฏิกูล ดำเนินการเอง มอบให้ผู้อื่น ดำเนินการ อนุญาตให้เอกชนดำเนินการเป็นธุรกิจ
การกำหนดหลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะ สำหรับประชาชนทั่วไป มาตรา 20 • ห้ามการถ่าย เท ทิ้ง ... สิ่งปฏิกูล นอกจากที่จัดไว้ให้ • กำหนดให้มีที่รองรับสิ่งปฏิกูล ที่สาธารณะและเอกชน • กำหนดวิธีการเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลให้เจ้าของ อาคารปฏิบัติ • กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการของราชการ ส่วนท้องถิ่นในการเก็บ และขนสิ่งปฏิกูล ไม่เกินกฎกระทรวง • (6) กำหนดการอื่นใดที่จำเป็นเพื่อให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ
การกำหนดหลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะ สำหรับผู้ประกอบการรถสูบสิ่งปฏิกูล มาตรา 20 (ต่อ) (5) กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการเก็บ ขน และกำจัด สิ่งปฏิกูล เพื่อให้ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 19 ปฏิบัติ ตลอดจนกำหนด อัตราค่าบริการขั้นสูง ตามลักษณะการให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 19 จะพึงเรียกเก็บได้ (6) กำหนดการอื่นใดที่จำเป็นเพื่อให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ รถสูบสิ่งปฏิกูล
การแก้ไขปัญหา เหตุรำคาญ 5
ลักษณะของเหตุรำคาญ ตามมาตรา 25 (1) แหล่งน้ำ ทางระบายน้ำ/ ที่อาบน้ำ /ส้วม/ที่ใส่มูล เถ้า สถานที่อื่นใด • กลิ่นเหม็น • ละอองพิษ • ที่เพาะพันธุ์ ทำเลไม่เหมาะสม สกปรก/หมักหมม ในที่/โดยวิธีใด /มากเกินไป (2) การเลี้ยงสัตว์ จนเป็นเหตุ ให้เสื่อมหรือ เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ ไม่มีการระบายอากาศ การระบายน้ำทิ้ง การกำจัดสิ่งปฏิกูล การควบคุมสารพิษ มี แต่ไม่มีการควบคุม จนเกิด กลิ่นเหม็น /ละอองสารพิษ (3) อาคาร/ โรงงาน /สถานประกอบการ ให้เกิด กลิ่น แสง รังสี เสียง ความร้อน สิ่งมีพิษ ความสั่นสะเทือน ฝุ่น ละออง เขม่า เถ้าหรือกรณีอื่นใด (4) การกระทำใด (5) เหตุอื่นใดที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ขั้นตอนการแก้ไขปัญหาเหตุรำคาญขั้นตอนการแก้ไขปัญหาเหตุรำคาญ กรณีร้องเรียน กรณีตรวจตรา จพถ. /จพส. ต้องตรวจ ข้อเท็จจริงเสมอ [ม.44 (1)-(5)] เป็นเหตุรำคาญ ไม่เป็นเหตุรำคาญ เหตุรำคาญธรรมดา ฝ่าฝืนข้อกำหนดของท้องถิ่นด้วย แจ้งผู้ร้อง เรื่องยุติ ดำเนินการตามมาตรา 27,28 อันตรายร้ายแรงต้องแก้ไขเร่งด่วน ออกคำสั่งตาม มาตรา 45 สั่งหยุดทันที (ม.45 / ม.46 ว.2) 1 2
กระบวนการใช้มาตรการมาตรการด้านกฎหมายกระบวนการใช้มาตรการมาตรการด้านกฎหมาย
กระบวนการใช้มาตรการมาตรการด้านกฎหมายกระบวนการใช้มาตรการมาตรการด้านกฎหมาย กิจการที่ต้องควบคุมตามกฎหมาย กิจการ / กิจกรรมทั่วไป ประชาสัมพันธ์ ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์ ด้านสุขลักษณะ ควบคุมไม่ให้ก่อเหตุรำคาญ พิจารณาอนุญาตก่อนประกอบกิจการ ตรวจสอบด้านสุขลักษณะ ออกคำแนะนำ ออกคำสั่ง ตรวจสอบด้านสุขลักษณะระหว่างประกอบกิจการ
มาตรการควบคุมกิจการที่ต้องขออนุญาตมาตรการควบคุมกิจการที่ต้องขออนุญาต โทษจำคุก > 6 เดือน ปรับ >10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ม.71 1.ไม่ได้รับ ใบอนุญาต ม.72 โทษจำคุก > 6 เดือน ปรับ >10,000บาท โทษปรับ >2,000บาท ม.77 สั่งให้ปรับปรุง/แก้ไข • 2. ไม่ปฏิบัติตาม • พรบ. • กฎกระทรวง • ข้อกำหนดของท้องถิ่น • เงื่อนไขในใบอนุญาต สั่งพักใช้ใบอนุญาต จพถ.มี อำนาจ * ครั้งละไม่เกิน 15 วัน สั่งเพิกถอนใบอนุญาต * ถูกพักใช้ 2 ครั้งขึ้นไป * ต้องคำพิพากษาว่าผิด * มีอันตรายร้ายแรง