250 likes | 1.23k Views
ประเภท ชนิด การจัดการ มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535. โดย.. . พรพรรณ ไม้สุพร ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย. ใช้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข เพื่อ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. คุ้มครอง. สุขภาพ ประชาชน. ป้องกัน.
E N D
ประเภท ชนิด การจัดการ มูลฝอยติดเชื้อมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชนตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 โดย...พรพรรณ ไม้สุพร ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย
ใช้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข เพื่อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คุ้มครอง สุขภาพ ประชาชน ป้องกัน จุลินทรีย์ ที่ก่อโรค มลพิษ สิ่งแวดล้อม
สารบัญญัติตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ
พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้อำนาจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • 1)ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น • สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย • กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ • กิจการตลาด • สถานที่จำหน่าย/ สะสมอาหาร • การขายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ 2)จพง.ท้องถิ่นพิจารณาอนุญาต และตรวจตราดูแล กิจการต่าง ๆ • 3)กรณี • เกิดเหตุรำคาญ • ผิดสุขลักษณะอาคาร • ฝ่าฝืนข้อกำหนดฯ • 4) จพง.ท้องถิ่นออกคำสั่งให้ • ปรับปรุง/ แก้ไข • หยุดกิจการ • พักใช้/เพิกถอนใบอนุญาต
หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย สิ่งปฏิกูล : อุจจาระหรือปัสสาวะ รวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครก หรือมีกลิ่นเหม็น มูลฝอย: เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร มูลสัตว์ซากสัตว์ หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น และหมายรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน
แหล่งกำเนิดมูลฝอย • พลาสติก • กระดาษ • แก้ว • โลหะ ครัวเรือนสถานประกอบกิจการ /โรงงานอุตสาหกรรมสถานที่สาธารณะฯลฯ • ขยะเปียก • ขยะแห้ง • ขยะอันตราย มูลฝอย • วิธีการ • อุปกรณ์ • บุคลากร • ติดเชื้อ • มีพิษ • อันตรายฯ การเก็บรวบรวม • การฝังกลบ • การเผา • การกำจัดวิธีพิเศษ • การหมักเป็นปุ๋ย • รถขนขยะ • บุคลากร • เวลาขน การขนย้าย การกำจัด • การRecycle/Reuse
สิ่งปฏิกูลและวัสดุไม่ใช้แล้วตาม กม.โรงงาน มูลฝอยตาม กม.การสาธารณสุข ครัวเรือน กิจการ/สำนักงาน สถานพยาบาล โรงงาน การจัดการมูลฝอยตามกฎหมายในปัจจุบัน มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยอันตราย มูลฝอยติดเชื้อ ของเสียไม่อันตราย ของเสียอันตราย ให้ อปท. มีอำนาจและหน้าที่ ๓ เรื่อง ๑) อปท. ดำเนินการเก็บ ขน และกำจัดเอง หรือมอบให้ผู้อื่นดำเนินการแทน (ม.๑๘) ๒) อปท.มีอำนาจอนุญาตให้เอกชนรับทำเก็บขนและกำจัดโดยเป็นธุรกิจได้ (ม.๑๙) ๓) อปท. ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น กำหนดวิธีการเก็บ ขน กำจัดให้ประชาชนและ ผปก.ปฏิบัติได้ (ม.๒๐)
สิ่งปฏิกูลและวัสดุไม่ใช้แล้วตาม กม.โรงงาน มูลฝอยตาม กม.การสาธารณสุข ครัวเรือน กิจการ/สำนักงาน สถานพยาบาล โรงงาน การจัดการมูลฝอยตามกฎหมายในปัจจุบัน มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยอันตราย มูลฝอยติดเชื้อ ของเสียไม่อันตราย ของเสียอันตราย • บังคับให้ ผปก.ต้องรายงานเกี่ยวกับของเสียอันตราย • ห้ามขนออกนอกโรงาน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากกรมโรงงาน • ต้องเก็บ รวบรวม & กำจัดตามหลักเกณฑ์ที่ กรมโรงงานฯกำหนด • บุคคลที่รับไปกำจัดต้องได้รับอนุญาตจาก กรมโรงงาน
การจัดการของ อปท. ทั้งของเสียอันตราย/ไม่อันตราย เขตราชการส่วนท้องถิ่น • แจ้งให้ทราบ (เพื่อประโยชน์ในการ Double check) ครัวเรือน กิจการ/สำนักงาน สถานพยาบาล โรงงาน มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยอันตราย มูลฝอยติดเชื้อ ของเสียไม่อันตราย ของเสียอันตราย • อปท.ดำเนินการได้ ๓ ลักษณะ • ดำเนินการเอง (ฝังกลบ/เตาเผา) • ร่วมกันระหว่าง อปท.หรือ รพ.ของ กสธ. • อนุญาตเอกชนรับเก็บ ขน กำจัด อปท.ยังไม่มีศักยภาพดำเนินการ ยังต้องใช้บริการของบริษัท GENCO / โรงงาน 101, 105 ,106 ที่กรมโรงงานฯ อนุญาต ผู้ประกอบการเอกชน
การควบคุมดูแลสิ่งปฏิกูล มูลฝอยของราชการ ส่วนท้องถิ่น กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม สิ่งปฏิกูล มูลฝอย ขยะทั่วไป ขยะอันตราย สิ่งโสโครก ที่มีกลิ่นเหม็น อุจจาระ ปัสสาวะ ขยะติดเชื้อ ขยะอันตราย จากครัวเรือน ของเสียอันตราย/กาก อุตสาหกรรมที่เป็นพิษ อยู่ในความควบคุมของ ราชการส่วนท้องถิ่นตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 อยู่ในความควบคุมของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตาม พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535
ราชการส่วนท้องถิ่น ภาระหน้าที่หลัก 1.เก็บ/ขน/กำจัดเอง โดยเก็บค่าบริการ ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น การห้ามถ่ายเททิ้ง ในกรณีที่ เหตุอันควร อัตราค่าธรรมเนียม ไม่เกินกฎกระทรวง การจัดให้มีที่รองรับ สิ่งปฏิกูล/มูลฝอย 2. อาจมอบให้บุคคลใดดำเนินการ ตามภายใต้การควบคุมดูแล วิธีการเก็บขนกำจัดของเจ้าของ/ ผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่ใด ๆ 3. อาจอนุญาตให้บุคคลที่ได้รับ อนุญาตตาม ม.19 ดำเนินการแทน หลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไขในการปฏิบัติ ของผู้ได้รับอนุญาต และอัตราค่าบริการ แต่ต้อง ปฏิบัติตาม เรื่องอื่นใดที่จำเป็น
เพิ่มโทษสำหรับผู้ฝ่าฝืนกฎกระทรวงกรณีมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษ มูลฝอยอันตราย
เพิ่มโทษสำหรับผู้ฝ่าฝืนข้อกำหนดของท้องถิ่นกรณีมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษ มูลฝอยอันตราย
WEB SITE ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2590-4175, 0-2590-4223 0-2590-4252, 0-2590-4256 โทรสาร 0-2591-8180