420 likes | 743 Views
โรควัวบ้า. B S E. โรควัวบ้า. ผู้นำเสนอ ภญ. สุกัญญา เจียระพงษ์ 43075944 ภญ. พิสชา ลุศนันทน์ 43075936 ภญ. ไพทร โอวาท 43075886 วันที่ 8 กรกฏาคม 25 44. โรควัวบ้า. ที่มาและการระบาด โรควัวบ้าคืออะไร สาเหตุการเกิดโรค อาการ/การวินิจฉัย
E N D
โรควัวบ้า B S E
โรควัวบ้า ผู้นำเสนอ ภญ. สุกัญญา เจียระพงษ์ 43075944 ภญ. พิสชา ลุศนันทน์ 43075936 ภญ. ไพทร โอวาท 43075886 วันที่ 8 กรกฏาคม 25 44
โรควัวบ้า • ที่มาและการระบาด • โรควัวบ้าคืออะไร • สาเหตุการเกิดโรค • อาการ/การวินิจฉัย • การถ่ายทอดโรค • การควบคุมกำกับดูแล
ที่มาและการระบาด • พบ “วัวบ้า” ในอังกฤษ พ.ศ.2528 • โรควัวบ้าเพิ่มจำนวนขึ้นและแพร่ระบาดสู่ ประเทศอื่นๆ
ที่มา : http://www.maff.gov.uk/animalh/bse/bse-statistics/level-4-weekly-stats.html(29/06/01)
โรควัวบ้า • Bovine Spongiform Encephalopathy (BSE) • Mad cow disease • Cow madness • Raging cow disease ชื่อที่ส่วนใหญ่ชอบเรียก “BSE”
โรควัวบ้า • โรคติดต่อร้ายแรง • เกิดกับวัวเป็นส่วนใหญ่ • จัดอยู่ในกลุ่มโรค TSEs หรือ Prion disease TSEs = Transmissible Spongiform Encephalopathies
โรค TSEs หรือ Prion Disease • โรคที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง • ทำลายเซลล์สมองเป็นรูพรุนคล้ายฟองน้ำ • Spongiform • ระยะฟักตัวของโรคนาน 4-30 ปี • สามารถติดต่อไปยังสัตว์ชนิดต่างๆ/จากสัตว์สู่คน • อาการ การทำงานของกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน เดินโซเซ เปะปะ มีอาการทางประสาท
โรค TSEs หรือ Prion Disease • พบทั้งในคนและสัตว์ • ไม่มีวิธีการรักษา • ตาย! 1 ปี (cont.)
TSEs ในคน • Kuru • CJD • nvCJD • GSS • FFI • Alpers’ Disease
TSEs ในสัตว์ • TME ในมิงค์ • CWD ในกวางและล่อ • FSE ในแมว • Exotic ruminants ในกวาง วัวพันธ์ Ankole ควายไบสัน • Scrapie ในแกะและแพะ • BSE ในวัว
สาเหตุการเกิดโรควัวบ้าสาเหตุการเกิดโรควัวบ้า • การศึกษาทางระบาดวิทยา • อาหารสัตว์ที่นำมาเลี้ยงวัว • อาหารสัตว์ทำมาจากเนื้อ/กระดูกป่นของแกะ ที่เป็นโรค Scrapie • มีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการผลิตอาหารสัตว์ (พ.ศ.2524-2525)
สาเหตุการเกิดโรควัวบ้าสาเหตุการเกิดโรควัวบ้า (ต่อ) • กระบวนการเกิดโรค • Prion เป็นสารก่อโรค Stanley Prusiner บัญญัติคำว่า “Prion Disease” • Prion เป็นโปรตีนที่พบในร่างกายมนุษย์/สัตว์ เรียกว่า Prion protein PrP
สาเหตุการเกิดโรควัวบ้าสาเหตุการเกิดโรควัวบ้า (ต่อ) • กระบวนการเกิดโรค Prion เป็นโปรตีนที่พบในร่างกายมนุษย์/สัตว์ • ปกติ PrPc โครงสร้างเป็น Alpha helix • เป็นโรค PrPsc โครงสร้างเป็น Beta helix • PrPc PrPsc
คุณสมบัติของเชื้อ BSE • ไม่กระตุ้นให้เกิดการอักเสบและตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน • BSE : heat , UV , radiation , chemical • Wet heat > dry heat • Sod. Hypochloride 20,000 ppm , 20 องศาC , 1 hr. • OIE : 50 มม. , saturated steam , ไม่น้อยกว่า 133 องศาC 20 mim , 3 bar inactivate BSE
การแพร่กระจายของ BSE ในเนื้อเยื่อต่างๆ • สมองและไขสันหลัง • รกของแม่วัวเป็นโรค : ไม่เป็นโรค • เนื้อเยื่อกว่า 50 ชนิด : ไม่มีอาการผิดปกติ • น้ำนมวัว : ไม่เป็นโรค No detectable Safe (เนื้อสัตว์ น้ำนม หนังสัตว์ น้ำเชื้อและตัวอ่อน)
Transmission of BSE • ปาก • ปริมาณสมองที่ป้อนทางปาก > ฉีดเข้าสมอง = 200,000 เท่า • Scrapie ใน แพะ แกะ เกี่ยวข้องกับ CJD ? • TSE จะถ่ายทอดในสัตว์ Species เดียวกัน > สัตว์ชนิดอื่น • BSE เป็น dead-end disease ของวัว • หนู แพะ แกะ มิงค์ ลิงบาร์โมเสท และสุกร----> ฉีด (dose สูง) • สุกร และไก่----->ไม่ติดโดยการกินทางปาก • FSE ในแมว สัมพันธ์กับ BSE
Clinical Sign • วัวเนื้อ และวัวนมโตเต็มวัยทั้ง 2 เพศ • วัวนมพันธุ์ขาว-ดำ (Holstein Friesian) • ระยะฟักตัว 2-8 ปี • เริ่มแสดงอาการ 2ปี 11 เดือน - 11 ปี • อาการนาน 2 สัปดาห์ - 14 เดือน • ตายภายใน 4 เดือนหลังจากแสดงอาการ
(cont.) Clinical Sign • อาการที่แสดง • อาการทางประสาท • มีท่ายืนและเคลื่อนไหวผิดปกติ • ตกใจง่าย
(cont.) Clinical Sign อาการส่วนใหญ่ที่พบ • ตื่นเต้น กระวนกระวาย • แสดงอาการชะงัก • ก้าวร้าวต่อวัวตัวอื่นในฝูง และคน • เตะอย่างต่อเนื่องขณะรีดนม • ไม่อยากให้จับหัว มักก้มหัวลงต่ำ
(cont.) อาการส่วนใหญ่ที่พบ • ยกขาสูงกว่าปกติ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งขาหลัง • เมื่อล้มแล้วลุกขึ้นยืนเองยากมากหรือไม่ได้ • กล้ามเนื้อใต้ผิวหนังสั่น • สภาพโดยทั่วไปไม่สมบูรณ์ น้ำหนักลด & น้ำนมลด
การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) • ปัจจุบันยังไม่สามารถหาวิธีตรวจวินิจฉัยโรค BSE ในสัตว์ที่มีชีวิตอยู่ / ในระยะแรกของการติดเชื้อ / ระยะฟักตัว • วินิจฉัยโดยสังเกต Clinical sign • วัวที่ติดโรค BSE มีระยะฟักตัว 5 ปี • ตรวจสอบการติดเชื้อได้ หลังจากรับเชื้อแล้ว 30 เดือน • ในปัจจุบันวินิจฉัยโรค BSE เบื้องต้น โดยตรวจทาง Histopathology (EU & OIE) • Western blotting และ Immunocytochemistry
การทดสอบวัวและแกะ ที่แสดงอาการ • Histopathology test • PrP Protein • Western blot test • Immunocytochemistry
EU ได้ประเมินวิธีการทดสอบอีก 4 วิธี • Prionics (Switzerland) • Enfer Scientific (Ireland) • CEA (France) • EG & G Wallace (การวินิจฉัยในวัวที่ตายแล้ว)
Transmission to Human • BSE เป็นโรคในกลุ่ม Prion disease ที่พบในวัวเท่านั้น • โรคกลุ่ม Prion disease ที่พบทั่วไปในมนุษย์ คือ CJD • ในปี 1996 พบ new strain ของ CJD ที่พบในคนอายุน้อย เรียก nvCJD • มีการเกิด nvCJD ใน UK ซึ่งเป็นประเทศที่มีอุบัติการ BSE สูง • โรค nvCJD สัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับโรค BSE • nvCJD น่าจะเกิดจากการที่มนุษย์ได้สัมผัส(Expose) กับสาร BSE
Transmission to Human (cont.) • การศึกษาแยกชนิดสายพันธ์(Strain-typing) • BSE , nvCJD , FSE , TSEs ของ exotic ruminants Scrapie และ Sporadic CJD • Western blotting • glycosylation pattern ของ BSE และ nvCJDเหมือนกัน • Transgenic mice ยังไม่สามารถสรุปได้ว่า BSE ถ่ายทอดไปสู่มนุษย์ได้ โดยการกินเนื้อวัวหรือผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากเนื้อวัว
สถิติของผู้ป่วย nvCJD • ประเทศอังกฤษ 101 ราย (ตค.39 - มิย.44) • ประเทศฝรั่งเศส 3 ราย • ประเทศไอร์แลนด์ 1 ราย
ผลิตภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของวัวผลิตภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของวัว • ในการผลิตวัคซีนมีการนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากวัวมาใช้ • สารที่ได้จากไขมันวัว (กลีเซอรีนและเจลาติน) • กรดอะมิโนบางชนิดจากกระดูกวัว • กล้ามเนื้อวัว • ซีรัม
ในขณะนี้มีเภสัชภัณฑ์หรือเวชภัณฑ์ที่มี ส่วนประกอบที่ได้จากวัว • วัคซีนที่มี bovine serum albumin เป็น stabilizer • วัคซีนที่ผลิตโดย cell culture ที่มี bovine serum albumin เป็นส่วนประกอบของอาหารเลี้ยงเซลล์ • เครื่องสำอาง • ‘exotica’ • ‘premium product’ • ครีมชะลอความแก่ • สมองสะกัด รก ม้าม และต่อมไธมัส
การควบคุมและกำกับดูแลการควบคุมและกำกับดูแล • ประเทศอังกฤษ • องค์กรระหว่างประเทศ เช่น WHO,OIE • ประเทศไทย
ประเทศอังกฤษ • ศึกษาวิจัย/หาข้อมูลทางระบาดวิทยา • กำหนดนโยบาย/คำสั่ง/กฎเกณฑ์ต่างๆ เช่น • ห้ามใช้MBMที่มาจากสัตว์สี่กระเพาะ • ห้ามใช้เครื่องในสัตว์ผสมในอาหารเลี้ยงสัตว์ • ห้ามใช้ซากวัวที่ได้จากวัวอายุ >30 เดือนเป็นส่วนผสมของอาหารสัตว์ • ห้ามนำเข้าวัวที่เกิดก่อน18 กค. 2531 • ทำลายวัวและจ่ายค่าชดเชย • ขึ้นทะเบียนวัวที่มีอายุ >30 เดือน • ให้เก็บข้อมูลสัตว์ในฟาร์ม 10 ปีนับตั้งแต่ผสมพันธุ์
WHO • ห้ามการใช้เนื้อเยื่อจากสัตว์สี่กระเพาะมาทำอาหารสำหรับเลี้ยง สัตว์สี่กระเพาะให้แยกเนื้อเยื่อที่มี BSE ออกจากห่วงโซ่อาหาร • กระตุ้นให้ทุกประเทศทำการประเมินความเสี่ยง • ในเนื้อเยื่อ skeletal muscle ให้เอาส่วนของเส้นประสาทและต่อม น้ำเหลืองออก • น้ำนม และผลิตภัณฑ์จากน้ำนม : Tallow และ gelatin • วัคซีนสำหรับคน & สัตว์ : BSE free
นำเข้า วัว เนื้อวัว ผลิตภัณฑ์จากวัว : BSE free • กำหนดระบบเฝ้าระวังและการควบคุม , risk analysis • ขบวนการทำลาย :ไอน้ำที่ 133 องศาC ไม่ต่ำกว่า 20 นาที ความดัน absolute 3 บาร์ • กำหนดชนิดของสินค้าที่ปลอดภัย • ห้ามนำโปรตีนจากส่วนต่างๆของวัวอายุมากกว่า 6 เดือน มาใช้เตรียมอาหาร คน สัตว์ ปุ๋ย เครื่องสำอาง ยา และเครื่องมือแพทย์ • gelatin และ collagen
การดำเนินการของประเทศไทยการดำเนินการของประเทศไทย • กรมปศุสัตว์ : ด้านวัวที่มีชีวิตและอาหารสัตว์ • อย. : ด้านเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์สำหรับมนุษย์ • กรมควบคุมโรคติดต่อ : เฝ้าระวัง CJD & nvCJD
การรักษา TSEs • ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษา • แนวคิดในอนาคต • gene knockout : ขัดขวางมิให้ PrPcเป็น PrPsc • หาสารที่เข้าไปจับที่แกนของ Alpha helix เพื่อให้ คงสภาพ ไม่เปลี่ยนเป็น Beta helix • หา Antigene ต่อ gene ที่สร้าง PrP ไม่ให้มีการสร้าง PrP ในร่างกาย
ข้อเสนอแนะ • หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องต้องติดตาม ตรวจสอบ และเฝ้าระวัง • ให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่ประชาชน • ปกป้องคุ้มครองประชาชนอย่างดีที่สุด • ผู้บริโภคต้องรู้จักป้องกันตนเอง