1 / 16

ความเสี่ยง ( Risk )

ความเสี่ยง ( Risk ). ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง โอกาส/เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่จะส่งผลกระทบ ทำให้วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายเบี่ยงเบนไปก่อให้เกิดความเสียหาย มีความไม่แน่นอน และสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา. R. I. S. K. นิยามการบริหารความเสี่ยง. AS / NZS 4360 Standard

trinity
Download Presentation

ความเสี่ยง ( Risk )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเสี่ยง (Risk ) ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง โอกาส/เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่จะส่งผลกระทบ ทำให้วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายเบี่ยงเบนไปก่อให้เกิดความเสียหาย มีความไม่แน่นอน และสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา

  2. R I S K นิยามการบริหารความเสี่ยง • AS / NZS 4360 Standard “ โอกาสของบางสิ่ง หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วส่งผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย โดยวัดจาก ผลกระทบ และโอกาสที่จะเกิด” • ภาษาง่ายๆ “ ความเสี่ยง คือสิ่งต่างๆที่อาจกีดกันองค์กรจากการบรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย”

  3. R I ความเสี่ยงจากปัจจัยภายใน 1. Financial Risk 2. Operational Risk (รวม Human Resource) 3. Policy/Strategic Risk ความเสี่ยงจาก ปัจจัยภายนอก Competitive Risk Supplier Risk 4.Compliance Risk Econ/Political Risk S K การแข่งขัน ผู้ขาย/ผู้ส่งมอบ กฎระเบียบ เศรษฐกิจ/การเมือง การเงิน การดำเนินงาน นโยบาย/กลยุทธ์ ประเภทและแหล่งของความเสี่ยง

  4. การตัดสินใจ และความเสี่ยง O =Occurrence = โอกาสเกิด S =Severity = ความรุนแรง

  5. ตัวอย่าง : กระบวนการวิเคราะห์ความเสี่ยงMission : 1. สร้างผลตอบแทนให้กับผู้ถือหุ้น 2. คืนกำไรสู่สังคมKPI (เป้าหมาย) : กำไรสุทธิ (120 ล้านบาท) ผศ.ประเสริฐ อัครประถมพงศ์ 16/10/48

  6. ตัวอย่าง : การวางระบบควบคุมภายในที่ดี Mission : 1. การวิเคราะห์เครดิตลูกค้า 2. การเรียกเก็บเงินลูกค้า KPI (เป้าหมาย) : Credit Term (30 วัน) และ NPL (<0.5%) ระบบควบคุมภายในที่สามารถลดความเสี่ยงได้ โดยการวิเคราะห์เครดิตลูกค้าก่อนอนุมัติต้องพิจารณา • ดูงบการเงิน จากกรมพัฒนาธุรกิจ • ดูรายการเดินบัญชี • ดูสถานประกอบการจริง • ขอความเห็นชอบจากฝ่ายขาย ผศ.ประเสริฐ อัครประถมพงศ์ 16/10/48

  7. R I S K 3 ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ (ObjectivesEstablishment) 2. การระบุความเสี่ยง Risk Management System 1 2 (Risk Identification) 3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 4 4. การสร้างแผนจัดการ (Risk ManagementPlanning) 5. การติดตามสอบทาน/สื่อสาร (Monitoring & Review) /Communication

  8. 1 2 โครงสร้างของการบริหารความเสี่ยง เป้าหมายที่กำหนดสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมขององค์กรหรือไม่ การรายงานผลเป็นไปอย่างถูกต้องหรือไม่ ตัวชี้วัดความเสี่ยงเป็นเครื่องเตือนภัยที่ดีหรือไม่ และได้มีการเก็บข้อมูลไว้เพื่อเป็นเครื่องเตือนภัยหรือไม่ ความเสี่ยงที่กำหนดครอบคลุมความเสี่ยงที่สำคัญแล้วหรือไม่ การประเมินโอกาสและผลกระทบสอดคล้องกับอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นมาแล้วและคาดว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ การจัดการความเสี่ยงจะช่วยลดผลกระทบได้หรือไม่ มีความคุ้มค่าหรือไม่ และได้มีการดำเนินการตามที่กำหนดหรือไม่

  9. R I S K 3 การประเมินความเสี่ยง ConsequenceRanking Ex.

  10. R I S K 3 การประเมินความเสี่ยง LikelihoodRanking Ex.

  11. R I S K 3 การประเมินความเสี่ยง Risk Analysis Matrix Ex.

  12. Example: Risk Profile

  13. R I ความรุนแรงของผลกระทบ (Consequence ) ความเป็นไปได้ของโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) S K 3 Trade off ระดับความเข้มข้นของ การควบคุม/การตรวจสอบ (Internal Control) CU-QA ( PM,WI,SD) Trade off การประเมินความเสี่ยง ประเด็นในการพิจารณา เพื่อประเมินความเสี่ยงตาม ระบบการบริหารความเสี่ยง Balance

  14. 4 R I 1.Take การยอมรับความเสี่ยง S K 2.Treat การลด/ควบคุมความเสี่ยง 4.Terminate การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง 3.Transfer การกระจาย/โอนความเสี่ยง การสร้างแผนจัดการ ประเภทของแผนจัดการความเสี่ยง

  15. Example: Risk Profile

  16. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) การบริหารจัดการ (Management) การควบคุมภายใน (COSO) การตรวจสอบภายใน (RBIA)

More Related