720 likes | 1.47k Views
ดร.นำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล. การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับ (Multilevel Analysis) ด้วยโปรแกรม HLM. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. การวิเคราะห์พหุระดับ. แนวคิดเบื้องต้นในการวิเคราะห์พหุระดับ ภาคทฤษฎีเกี่ยวกับแนวคิดการวิเคราะห์ การวิเคราะห์พหุระดับด้วยโปรแกรม HLM
E N D
ดร.นำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับ (Multilevel Analysis) ด้วยโปรแกรม HLM สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การวิเคราะห์พหุระดับ • แนวคิดเบื้องต้นในการวิเคราะห์พหุระดับ • ภาคทฤษฎีเกี่ยวกับแนวคิดการวิเคราะห์ • การวิเคราะห์พหุระดับด้วยโปรแกรม HLM • กรณีตัวอย่างงานวิจัย • การใช้โปรแกรม HLM วิเคราะห์เพื่อตอบคำถามการวิจัย • การอ่านและแปลผลการวิเคราะห์
ข้อมูลพหุระดับ • Hierarchical Nested Data or Multiple-Level Data
ข้อมูลพหุระดับ • Hierarchical Nested Data or Multiple-Level Data
ปัญหาของข้อมูลพหุระดับปัญหาของข้อมูลพหุระดับ • ลักษณะความเป็นกลุ่มส่งผลกระทบต่อการวิเคราะห์ทางสถิติ • ละเมิดข้อตกลงเบื้องต้นเรื่อง Independent Observations • ส่งผลให้เกิด Type I Error สูงเกินกว่าปกติหรือที่ตั้งไว้
ปัญหาของข้อมูลพหุระดับปัญหาของข้อมูลพหุระดับ Barcikowski (1981)
ปัญหาของข้อมูลพหุระดับปัญหาของข้อมูลพหุระดับ • การวิเคราะห์การถดถอยทั่วไปใช้การประมาณค่าแบบ Ordinal Least Squares (OLS) ซึ่งมีปัญหาเนื่องจากละเมิด assumption • การวิเคราะห์พหุระดับส่วนใหญ่ใช้วิธีประมาณค่า Maximum Likelihood (ML) ซึ่งให้ค่าประมาณที่เที่ยงตรงกว่าในกรณีที่ละเมิดข้อตกลงเบื้องต้นเรื่อง independent observations
กรณีตัวอย่าง • X = เศรษฐฐานะของนักเรียน (SES) • Y = ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement) • W = ประเภทโรงเรียน (Type of School)
ลักษณะความสัมพันธ์ของตัวแปรพหุระดับลักษณะความสัมพันธ์ของตัวแปรพหุระดับ
วิธีการวิเคราะห์ • กรณี 1 ใช้การวิเคราะห์ Pearson Correlation หรือ Regression • กรณี 2 ใช้ ANCOVA หรือแปลงตัวแปร W ให้เป็นตัวแปร Dummy แล้วนำไปวิเคราะห์ Regression • กรณี 3 การวิเคราะห์แบบเดิมไม่สามารถวิเคราะห์ได้ เนื่องจากมีข้อตกลงเบื้องต้นทางสถิติ • กรณี 3 นี้เรียกว่า Cross Level Interaction เป็นความสัมพันธ์ที่ การวิเคราะห์พหุระดับถูกออกแบบเพื่อศึกษาโดยเฉพาะ
แนวการวิเคราะห์แบบเดิมแนวการวิเคราะห์แบบเดิม • ไม่สนใจระดับการวิเคราะห์ ไม่นำเข้ามาวิเคราะห์ด้วย • ใช้ได้เฉพาะกรณี 1 เท่านั้น • ทำให้หน่วยการวิเคราะห์อยู่ในระดับเดียวกัน • Aggregate Regression • แปลงตัวแปรระดับหน่วยย่อยให้เป็นระดับกลุ่ม • เสียข้อมูลจำนวนมาก Power ลดลง Type II Error สูงขึ้น • Ecological Fallacy or Robinson Effect
แนวการวิเคราะห์แบบเดิมแนวการวิเคราะห์แบบเดิม • ทำให้หน่วยการวิเคราะห์อยู่ในระดับเดียวกัน • Disaggregate Regression • แปลงตัวแปรระดับกลุ่มให้เป็นระดับหน่วยย่อย • Type I Error สูงขึ้นกว่าปกติ • Atomistic Fallacy • การวิเคราะห์ 2 แนวทางก็ยังไม่สามารถวิเคราะห์ Cross Level Interaction ได้
แนวการวิเคราะห์แบบเดิมแนวการวิเคราะห์แบบเดิม • การวิเคราะห์แบบเดิมจึงมีปัญหา • Conceptual Problem • Fallacy of the Wrong Level • Statistical Problem • Violate Independent Observation Assumption • Alpha Inflate
การวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับการวิเคราะห์ข้อมูลพหุระดับ • Multilevel Data Analysis • Hierarchical Linear Models (HLM) โดย Raudenbush & Bryk • เป็นการนำเอาโครงสร้างความเป็นกลุ่มมาเป็นอิทธิพลสุ่ม (Random Effect) ในสมการ ไม่ใช่อิทธิพลคงที่ (Fixed Effect) เหมือนสมการถดถอยทั่วไป • แยกสมการโดยนำเอาค่าสัมประสิทธิ์ทั้งค่า intercept และ slope มาเป็นตัวแปรตามแบบสุ่ม
สมการการวิเคราะห์พหุระดับสมการการวิเคราะห์พหุระดับ
Null Model • One Way ANOVA with Random Effects • Level 1 Model • Level 2 Model
Null Model • มีแต่ค่า Intercepts ไม่มีตัวแปรอิสระ • เพื่อทดสอบว่าค่าเฉลี่ยตัวแปรตาม (Intercepts) มีค่าแตกต่างกันไปตามระหว่างกลุ่มระดับที่ 2 หรือไม่ • เพื่อคำนวณค่า Intraclass Correlation
Regression with Random Intercepts Model • ANCOVA with Random Intercepts • Level 1 Model • Level 2 Model
Regression with Random Intercepts Model • เพื่อทดสอบว่าตัวแปรอิสระระดับที่ 1 ตัวแปรใดบ้างที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม
Regression with Random Coefficients Model • Level 1 Model • Level 2 Model
Regression with Random Coefficients Model • เพื่อทดสอบว่าอิทธิพลที่ตัวแปรอิสระระดับที่ 1 ที่มีต่อตัวแปรตามแตกต่างกันไปตามระหว่างกลุ่มระดับที่ 2 หรือไม่
Intercepts-as-Outcomes Model • Level 1 Model • Level 2 Model
Intercepts-as-Outcomes Model • เพื่อทดสอบว่าตัวแปรอิสระระดับที่ 2 ตัวแปรใดบ้างที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม
Intercepts and Slopes-as-Outcomes Model • Cross-Level Interaction Model • Level 1 Model • Level 2 Model
Intercepts and Slopes-as-Outcomes Model • เพื่อทดสอบผลปฏิสัมพันธ์ของตัวแปรระดับที่ 2 ที่มีต่ออิทธิพลของตัวแปรระดับที่ 1 กับ ตัวแปรตาม
Centering • Uncenterd • Grand Mean Centered • Group Mean Centered
ข้อดีของการ Centering • ทำให้ง่ายต่อการตีความค่า Intercept • ลดความสัมพันธ์ระหว่างความคลาดเคลื่อนของ Random Intercepts and ความคลาดเคลื่อนของ Slopes • ลดความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรระดับที่ 1 และ 2 และ ค่าปฏิสัมพันธ์ข้ามระดับ (Cross-level Interaction)
Uncentered • ค่าเฉลี่ย เมื่อ = 0 • ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม • Grand Mean Centered • Adjusted Mean ค่าเฉลี่ยตัวแปรตามในกรณีที่มีค่าเฉลี่ยรวม • ความแตกต่างของ Adjusted Mean ระหว่างกลุ่ม • Group Mean Centered • Unadjusted Mean ค่าเฉลี่ยตัวแปรตามในกรณีที่มีค่าเฉลี่ยกลุ่ม • ความแตกต่างของ Unadjusted Mean ระหว่างกลุ่ม
Uncentered and Grand Mean Centered • คือ pooled-within regression slopes • ความแตกต่างของ pooled-within slopes ระหว่างกลุ่ม • Group Mean Centered • คือ ค่าเฉลี่ย regression slopes ระหว่างกลุ่ม • ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย regression slopes ระหว่างกลุ่ม
การเตรียมไฟล์ข้อมูล • แยกไฟล์ข้อมูลออกเป็น 2 ไฟล์ คือ • ไฟล์ข้อมูลระดับที่ 1 • ไฟล์ข้อมูลระดับที่ 2 • ทั้ง 2 ไฟล์ต้องมีตัวแปร ID ของระดับที่ 2 เป็นตัวเชื่อม • ไฟล์ระดับ 1 ต้องจัดกลุ่มตามตัวแปร ID • ตัวแปร ID ถ้าเป็น string ต้องไม่ยาวเกิน 12 ตัวอักษร และค่าตัวแปร ID ต้องมีความยาวเท่ากันทุกค่า
การสร้างไฟล์ MDM • HLM V.6 ใช้ .MDM (Multivariate Data Matrix) • HLM เวอร์ชั่นต่ำกว่า 6 ใช้ .SSM (Sufficient Statistics Matrix) • Not Backward Compatible
การสร้างไฟล์ MDM • File Make New MDM File Stat Package Input ให้เลือก Hierarchical Linear Models HLM 2 แล้วจะขึ้นกรอบหน้าต่างดังข้างล่าง
การสร้างไฟล์ MDM • ตรงกรอบ Level-1 Specification ให้กดปุ่ม Browse แล้วเลือกไฟล์ข้อมูลระดับที่ 1 จากนั้นกดปุ่ม Choose Variables แล้วจะขึ้นหน้าต่างข้างล่าง
การสร้างไฟล์ MDM • จากนั้นตรงกรอบ Level-2 Specification ให้กดปุ่ม Browse แล้วเลือกไฟล์ข้อมูลระดับที่ 2 จากนั้นกดปุ่ม Choose Variables แล้วจะขึ้นหน้าต่างข้างล่าง
การวิเคราะห์ Regression with Random Intercept Model
ผลวิเคราะห์ Regression with Random Intercept Model
ผลวิเคราะห์ Regression with Random Intercept Model
ผลวิเคราะห์ Regression with Random Intercept Model