1 / 30

“Macroeconomic Models ประสบการณ์ประเทศไทย ” 29 กันยายน 2548

“Macroeconomic Models ประสบการณ์ประเทศไทย ” 29 กันยายน 2548. สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. ดร.เวทางค์ พ่วงทรัพย์. หัวข้อการบรรยาย. บทนำและวิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค ประสบการณ์การพัฒนาแบบจำลอง แบบจำลองของหน่วยงานต่างๆ บทสรุป และอนาคต. บทนำ. วัตถุประสงค์

trynt
Download Presentation

“Macroeconomic Models ประสบการณ์ประเทศไทย ” 29 กันยายน 2548

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “Macroeconomic Modelsประสบการณ์ประเทศไทย” 29 กันยายน 2548 สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ดร.เวทางค์ พ่วงทรัพย์

  2. หัวข้อการบรรยาย บทนำและวิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค ประสบการณ์การพัฒนาแบบจำลอง แบบจำลองของหน่วยงานต่างๆ บทสรุป และอนาคต

  3. บทนำ วัตถุประสงค์ • เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ในเรื่องแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค • สรุปบทเรียนจากประสบการณ์ในการใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคของประเทศไทย

  4. บทนำ • แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคนั้น เป็นระบบสมการที่จำลองความสัมพันธ์และกลไกในระบบเศรษฐกิจ C = 0.9 YD • เป็นเครื่องมือหนึ่ง ที่เป็นระบบ ที่ใช้ในการหาความสัมพันธ์ของระหว่างตัวแปรเศรษฐกิจต่างๆ การวิเคราะห์ภาวะและการประมาณการเศรษฐกิจ และการศึกษาผลกระทบของใช้นโยบายเศรษฐกิจ

  5. วิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาควิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค 36 Jan Tinbergen - Netherland Model 40s Lawrence Klein + Tinbergen - US Model 60s Brooking Model 70s Wharton Model, Chase Model

  6. วิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาควิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค 76 Robert Lucus’s Critique “Any change in policy will systematically alter the structure of econometric models” – No use of MM for policy analysis. 80s 1) Sim - atheoretical VAR 2) Hendry - General to Specific Approach 3) Rational Expectation – FRB/US, 70s Wharton Model, Chase Model

  7. วิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาควิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค 80s/90s 76 50s Keynes Supply/ I/O Rational Expectation Micro-foundation CGE Time series techniques Error Correction Model 40s Keynes Supply/ I/O Rational Expectation Vector Auto- Regressions Keynes Supply/ I/O Keynes

  8. วิวัฒนาการของแบบจำลองของประเทศไทยวิวัฒนาการของแบบจำลองของประเทศไทย 00s 80s/90s 70s Keynes + Time Series Techniques BOT Models FPO Models 66 Keynes/ Supply/ I/O Bandid Nijathaworn and Arya (1987) Keynes/ Supply/ I/O วีรพงษ์ รามางกูร (2519) วีรพงษ์ ปิยสวัสดิ์ และคณะ (2524) โอฬาร ไชยประวัติ และคณะ (2522) Keynes ชินวุธ (2509)

  9. หัวข้อการบรรยาย วิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค ประสบการณ์การพัฒนาและการใช้แบบจำลอง แบบจำลองของหน่วยงานต่างๆ บทสรุป และอนาคต

  10. FPO Models Financial Programming Spread sheet Fiscal Model Core Macro Model Early Warning System Other Models

  11. เริ่มจากวัตถุประสงค์ • วิเคราะห์นโยบายการคลัง (Policy Simulation) • วิเคราะห์ภาวะ และประมาณการเศรษฐกิจ (Economic Simulation and Forecasting) • เลือกแนวทางและเทคนิค • พัฒนา และประเมินผล

  12. ECONOMY Financial Sector Disposable Income PRICE Government’s Expenditure Government’s Balance Direct Tax Indirect Tax

  13. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีผ่าน TAX BLOCK สู่เศรษฐกิจรวม DTAX RATE MODEL Disposable Income Consumption (CP) Government Spending Government Revenue IDTAX RATE Government financing ETR_IDTAX Consumer Price Index

  14. การใช้จ่ายและการชดเชยการขาดดุลของภาครัฐการใช้จ่ายและการชดเชยการขาดดุลของภาครัฐ MODEL Domestic Financing MLR Liquidity Government Spending Government Balance Foreign Financing Money Supply Inflation GDP

  15. ประมาณการรายได้ PIT 3 EQ DTAX CIT 5 EQ PTT TAX EXCISE 1 EQ VAT 2 EQ IDTAX IMTAX 1 EQ SBT 1 EQ

  16. OIL PRICE vs. MODEL MODEL PAGR CPI CP OIL PRICE XG ER PMG MG

  17. เลือกแนวทางและเทคนิคการสร้างแบบจำลองเลือกแนวทางและเทคนิคการสร้างแบบจำลอง • หลักเศรษฐศาสตร์ ( Structural Equations) • Modern Econometrics • General to Specific (Hendry approach)

  18. SELECTION PROCEDURES Unit Root Test Variables CO-INTEGRATION Fail Fail Pass Pass OLS At I(0) I(1) I(0) ECM Individual equation – sig.of coefficient, expected sign, normality, serial correlation, hetero-skedasticity, Specification Ramsey Reset Test, stability chow Test System of equations – Root Mean Square Error, MAPE

  19. การประมาณการเศรษฐกิจ วิเคราะห์ สถานการณ์ เศรษฐกิจ สมมติ ตัวแปร ภายนอก แบบจำลอง ผล ประมาณการ คณะทำงาน นโยบาย เศรษฐกิจ

  20. หัวข้อการบรรยาย วิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค ประสบการณ์การพัฒนาและการใช้แบบจำลอง แบบจำลองของหน่วยงานต่างๆ บทสรุป และอนาคต

  21. Rational Expectation MODEL Expected Core Inflation = 0.25*CINFLAT(-1) + 0.25*CINFLAT + 0.50*CINFLAT(4) Private Investment f (MLR - CINFEX)

  22. หัวข้อการบรรยาย วิวัฒนาการของแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค ประสบการณ์การพัฒนาแบบจำลอง แบบจำลองของหน่วยงานต่างๆ บทสรุป และอนาคต

  23. บทสรุป และอนาคต 1.หน่วยงานทางด้านเศรษฐกิจให้ความสำคัญกับการสร้างแบบจำลอง และได้มีการลงทุนโดยใช้ทรัพยากรและบุคลากร ในการพัฒนาแบบจำลองมาอย่างต่อเนื่อง โดยปกติจะมีการตั้งทีมงานขึ้นมาเพื่อการนี้โดยเฉพาะ ทั้ง สศช, ธปท และ สศค 2.แบบจำลองมีหลายประเภท แต่ละแบบจำลองก็มีจุดเด่นและจุดด้อยที่แตกต่างกัน และหน่วยงาน หรือองค์กรที่ต้องทำการวิเคราะห์เศรษฐกิจมักจะมีหลายแบบจำลองทั้ง TDRI, สศช, ธปท และ สศค 3.การพัฒนาแบบจำลองให้ประสบความสำเร็จนั้น ต้องมีการกำหนดจุดมุ่งหมายที่ต้องการพัฒนาแบบจำลองใช้ชัดเจน เนื่องจากวัตถุประสงค์ของแบบจำลอง จะเป็นตัวกำหนด วิธีการ ข้อมูล และเทคนิคที่จะนำมาใช้

  24. บทสรุป และอนาคต 4.ข้อจำกัดที่สำคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาแบบจำลอง คือ คุณภาพของข้อมูล ซึ่งนักพัฒนาแบบจำลองต้องควรให้ความใส่ใจกับเรื่องดังกล่าว 5.โปรแกมสำเร็จรูปและเทคโนโลยีต่างๆ รวมทั้งวิธีการทางสถิติได้มีการพัฒนาไปมาก ควรจะใช้ประโยชน์จากพัฒนาการนี้ให้มาก แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคมีแนวโน้มที่จะมีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อครอบคลุมภาคเศรษฐกิจหลายภาคมากขึ้น เช่น FRB/US (300 สมการ แต่ core แค่ 50 สมการ) IMF - MULTIMOD Mark III

  25. บทสรุป และอนาคต การพัฒนาแบบจำลองสมัยใหม่ มีแนวโน้มไปทางการใช้แนวความคิดเศรษฐศาสตร์จุลภาคมากขึ้น โดยเฉพาะ เรื่อง expectation และใช้เทคนิคทาง econometrics ใหม่ๆ เช่น MULTIMOD Mark III, BOT Model

  26. อนาคตแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค อนาคตแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค 00s 80s/90s Micro-foundation Dynamic CGE eg Global Economic Model (IMF) Bank of Canada, Bank of England Time series techniques Error Correction Model Structural VAR eg. Small Macro- Econometric Model of HK Hybrid eg, JEM ( Dynamic CGE + VAR) Others Current Quarter Model 76 Keynes Supply/ I/O Micro-foundation CGE Time series techniques Error Correction Model Keynes Supply/ I/O Rational Expectation Vector Auto Regression

  27. For one who has no objective, nothing is relevant Confucius

More Related