1 / 48

แนวทางการปรับแผนพัฒนาจังหวัด

แนวทางการปรับแผนพัฒนาจังหวัด. กรณีศึกษาการ ทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา. ดร. บัญชร ส่ง สัมพันธ์ นักวิจัยอาวุโส. สรุปความเห็นจากการอบรม. PEST ต้องประยุกต์ไปแต่ ละจว. Cluster ยังมีความจำเป็น เพราะ Economy of scale ควรมีคู่มือการจัดทำแผนจากส่วนกลาง คำจัดความของโครงการสำคัญ ?

Download Presentation

แนวทางการปรับแผนพัฒนาจังหวัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการปรับแผนพัฒนาจังหวัดแนวทางการปรับแผนพัฒนาจังหวัด กรณีศึกษาการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา ดร. บัญชร ส่งสัมพันธ์ นักวิจัยอาวุโส

  2. สรุปความเห็นจากการอบรมสรุปความเห็นจากการอบรม • PEST ต้องประยุกต์ไปแต่ละจว. • Cluster ยังมีความจำเป็น เพราะ Economy of scale • ควรมีคู่มือการจัดทำแผนจากส่วนกลาง • คำจัดความของโครงการสำคัญ? • การเชื่อมโยงโครงการจว.กับโครงการ ของ country strategy • ผลของโครงการต่อจำนวนปชช. • ทีมยุทธ์จว. ควรได้รับโอกาศด้านเวลาและปัจจัยงานยุทธ์มากกว่านี้ • ควรมีเวทีในการบูรณาการระหว่าง area&functionบ่อยๆ • แผนที่ดีขึ้นกับข้อมูล ควรสร้างเครือข่ายตั้งแต่วันนี้

  3. แนวทางการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 พัฒนาตัวชี้วัดระดับ จังหวัด (PPIR) ขั้นตอนที่ 2 SWOT ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำ ยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) ขั้นตอนที่ 4 แผนงาน/ โครงการสำคัญ (Flagship Projects)) • Growth & Competitiveness • Inclusive Growth • Green Growth • Government Efficiency • SWOT Analysis • วิสัยทัศน์ • ตำแหน่งจุดยืน • เป้าประสงค์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • ตัวชี้วัดความสำเร็จ • Opinion Survey Missing Links How-to • ยุทธศาสตร์ชาติ: • นโยบายรัฐบาล, • Country Strategy, • ยุทธศาสตร์บริหารจัดการ • น้ำ, งบลงทุนโครงสร้าง • พื้นฐาน, โซนนิ่งภาค • เกษตร, แผนพัฒนาภาค, • ยุทธศาสตร์การพัฒนา • เฉพาะด้าน(เกษตร อุต- • สาหกรรม ท่องเที่ยว ฯ) • PEST Factors การวิเคราะห์ตำแหน่ง • ความต้องการของ ประชาชน (Spider Chart) • แผนที่นโยบาย (policy mapping) Product Champion • BCG Model • Five Force Model • Crucial Social & Environmental Issues • Critical Success Factor (CSF) & KPI • ระดับแผนงาน/โครงการ • Critical Success Factor • (CSF) & KPIระดับแผนง • การจัดลำดับความสำคัญ ระดับแผนงาน/โครงการ • TOWS Matrix: (พัฒนายุทธศาสตร์) • การจัดลำดับความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์

  4. การบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) เพื่อเป็นกรอบการจัดสรรงบประมาณประจำปี 2557 New Growth Modelสร้างฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Growth & Competitiveness โครงสร้างพื้นฐาน / ผลิตภาพ / วิจัยและพัฒนา คน / คุณภาพชีวิต / ความรู้ / ยุติธรรม ระบบงาน / กำลังคนภาครัฐ / งบประมาณ Inclusive Growth Green Growth กฎระเบียบ

  5. การบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) เพื่อเป็นกรอบการจัดสรรงบประมาณประจำปี 2557 หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง New Growth ModelGoalsin 10-15 years Growth &Competitiveness • รายได้ต่อหัวเพิ่มขึ้นเป็น 12,400 ดอลลาร์ สรอ. ต่อปี (GNI) - ปี 2554 อยู่ที่ 4,420 ดอลลาร์ สรอ. ต่อปี (Higher-incomeCountry ต้องมีรายได้มากกว่า 12,275 ดอลลาร์ สรอ. ต่อปี) • อัตราการขยายตัวของ GDP อยู่ที่ร้อยละ 5.0 - 6.0 ต่อปี - เฉลี่ยปี 2545 - 54 อยู่ที่ร้อยละ 4.2 • เพิ่มการลงทุนด้าน R&D ให้มากกว่าร้อยละ 1 ต่อ GDP - ปี 2554 อยู่ที่ร้อยละ 0.24 ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Inclusive Growth • GINIcoefficient ปรับลดลงเหลือ 0.40 หรือน้อยกว่า - ปี 2554 อยู่ที่ 0.476 • เพิ่มสัดส่วน SMEs ต่อ GDP ให้มากกว่าร้อยละ 40 ต่อ GDP - ปี 2554 อยู่ที่ร้อยละ 36.6 (3.86 ล้านล้านบาท) • ปีการศึกษาเฉลี่ยอยู่ที่ 15 ปี และอัตราการอ่านออกเขียนได้อยู่ที่ร้อยละ 100 - ปีการศึกษาเฉลี่ยอยู่ที่ 8.2 ปี (2554) และอัตราการอ่านออกเขียนได้อยู่ที่ร้อยละ 93.10 (2548) Green Growth • ลดการปล่อย GHG ในภาคพลังงาน ให้ต่ำกว่า 4 ตัน/คน/ปี - ปี 2553 อยู่ที่ 3.3 ตัน/คน/ปี และจากการศึกษาคาดว่าในอีก 10 ปี จะเพิ่มขึ้นเป็นมากกว่า 5 ตัน/คน/ปี (การปล่อย GHG ของภาคพลังงานคิดเป็นร้อยละ 70 ของประเทศ) • เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด (128 ล้านไร่) - ปี 2552 อยู่ที่ร้อยละ 33.6 (107 ล้านไร่)

  6. การกำหนดตำแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) ของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ. 2557 – 2560) โดยเน้นเฉพาะเรื่องสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและสร้างรายได้ วิสัยทัศน์ ศูนย์กลางการค้าการลงทุนแห่งอินโดจีน ฐานการผลิตอุตสาหกรรมก้าวหน้าระดับประเทศ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล เส้นทางท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรม สมุทรปราการ สระแก้ว ฉะเชิงเทรา • เมืองแห่งพืชพลังงาน • (Energy Green City)** • สินค้าเกษตรเป็นเลิศ • (มะม่วง)* • อุตสาหกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการส่งออก* (Eco - Industrial Town) • แหล่งการค้าชายแดน* • ฐานอุตสาหกรรม และศูนย์กลางการขนส่งและกระจายสินค้า* • ฐานอุตสาหกรรม และศูนย์กลางการขนส่งและกระจายสินค้า* กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางGateway to the World* “ประตูสู่การค้าโลก” • เป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุน การคมนาคม และการค้าภาคตะวันออก • ของไทยสู่อินโดจีน * • เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ * • เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล * ปราจีนบุรี นครนายก • ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ * • เมืองท่องเที่ยวน่าอยู่* • ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและสุขภาพ * • จังหวัดอัจฉริยะต้นแบบระดับสากล* • เมืองอุตสาหกรรมสีเขียว* * รักษาฐานรายได้เดิม ** สร้างฐานรายได้ใหม่

  7. การวิเคราะห์ข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศแต่ละด้านการวิเคราะห์ข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศแต่ละด้าน

  8. ผลิตภัณฑ์มวลในจังหวัดฉะเชิงเทราผลิตภัณฑ์มวลในจังหวัดฉะเชิงเทรา

  9. ผลิตภัณฑ์มวลจังหวัดต่อคน ปี 2554 ที่มา: สศช. ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อคนในจังหวัดฉะเชิงเทรา ใน ปี 2554 อันดับที่ 3 ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง รองจากจังหวัดสมุทรปราการและจังวัดปราจีนบุรี

  10. เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์มวลจัวหสัดต่อคน ณ ปี 2554 ที่มา: สศช.

  11. ตำแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2557-2560

  12. GPP : มีมูลค่า GPP สูงเป็นอันดับ 2 ของกลุ่ม แต่มูลค่า GPP จากสาขาเกษตรกรรมสูงเป็นอันดับแรกของกลุ่ม • ในด้านเกษตรกรรมนั้น GPP เกือบทั้งหมดคิดเป็นมูลค่า 6.12% มาจากการเพาะปลูกและปศุสัตว์ และอีกเพียง 1.08% มาจากการประมง เกษตรกรรม ที่มา: ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด พ.ศ. 2552, สศช.

  13. Zoning แหล่งผลิตสินค้าเกษตร GREEN INDUSTRY ZONE Cluster ยานยนต์และอุตสาหกรรมเกี่ยวข้อง

  14. เกษตรกรรม พื้นที่ด้านเกษตรมากกว่า 50% ใช้ในการปลูกมันสำปะหลัง และรองลงมาใช้ในการปลูกข้าว และพืชเศรษฐกิจสำคัญ ได้แก่ มันสำปะหลังได้ปริมาณมากที่สุด รองลงมา คือ ข้าว อ้อย และมะม่วง • ฉะเชิงเทราผลิตมันสำปะหลังได้ปริมาณมากที่สุด รองลงมา คือ ข้าว อ้อย และมะม่วง • ฉะเชิงเทราผลิตมันสำปะหลังได้ 1,097,415 ตัน 2 1 3 4 ที่มา: ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2552, สำนักงานคลังจังหวัดฉะเชิงเทรา

  15. BCG สินค้าเกษตรที่สำคัญ สุกร ไข่ไก่ มันสำปะหลัง ข้าว มะม่วง

  16. เกษตรกรรม ผลผลิตต่อไร่ในการเพาะปลูก ปี 2554 ข้าวนาปรังสูงกว่าข้าวนาปี แต่ผลผลิตรวมของข้าวต่อไร่ในจังหวัดน้อยกว่าการผลิตมันสำปะหลัง

  17. มะม่วง โดยสถิติปี 2553 ที่มา: ข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2553 18

  18. แหล่งเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้นํ้าของประเทศไทยแหล่งเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้นํ้าของประเทศไทย 19

  19. เกษตรกรรม ผลผลิตไข่ไก่และจำนวนไก่ไข่สูงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ

  20. เกษตรกรรม ผลผลิตสุกรสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ

  21. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • จังหวัดฉะเชิงเทรามีแหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ คือ • แม่น้ำบางปะกง ห้วย ลำธาร คลอง รวมทั้งสิ้น 762 สาย ในจำนวนนี้มีน้ำให้ใช้ได้ในฤดูแล้ง จำนวน 745 สาย • มีหนอง บึง อีกจำนวน 167 แห่ง ใช้งานได้ในฤดูแล้ง 166 แห่ง • มีน้ำพุ น้ำซับ 9 แห่ง มีน้ำในฤดูแล้งทั้ง 9 แห่ง • อื่นๆ อีก 179 แห่ง ใช้งานได้ในฤดูแล้ง 178 แห่ง • แหล่งน้ำชลประทานภายในจังหวัด ประกอบด้วย แหล่งน้ำตามโครงการชลประทานขนาดใหญ่ โครงการชลประทานขนาดกลาง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการชลประทานขนาดเล็กที่สร้างแล้วเสร็จถึงปีงบประมาณ 2553 รวม 154 โครงการ สามารถเก็บกักน้ำได้ 484.61 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพื้นที่ได้รับประโยชน์จากโครงการ 1,142,862 ไร่ หรือร้อยละ 35.02% ของพื้นที่ถือครองทางการเกษตรของจังหวัด • แหล่งน้ำจากการพัฒนาภายในจังหวัด ประกอบด้วย แหล่งน้ำตามโครงการชลประทานขนาดใหญ่ โครงการชลประทานขนาดกลาง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการชลประทานขนาดเล็กที่สร้างเสร็จแล้ว

  22. สถานการณ์และประเด็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมสถานการณ์และประเด็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แม่น้ำบางปะกง : ปัญหาการขาดแคลนน้ำ ปัญหาการรุกล้ำของน้ำเค็มในช่วงฤดูแล้ง คุณภาพสิ่งแวดล้อมทางทะเล : ความยาวของชายฝั่งทะเลประมาณ 15 กม. เป็นที่ตั้งของแหล่งอุตสาหกรรม ชุมชน เกษตรกรรม การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและแหล่งทรัพยากร ตลอดจนเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ มีการพัฒนาและขยายตัวของกิจกรรมต่างๆ อย่างรวดเร็ว เช่น แหล่งชุมชน ที่พักอาศัย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง การเลี้ยงกุ้งกุลาดำ เป็นต้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง มลพิษทางน้ำ ได้แก่ น้ำเสียชุมชน น้ำเสียจากเกษตรกรรม น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม มลพิษด้านขยะมูลฝอย : การกำจัดขยะมูลฝอยของ อปท. ยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล มลพิษทางอากาศ : ปัญหาก๊าซโอโซนและฝุ่นขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน มีค่าเกินมาตรฐานบางครั้ง จากแหล่งกำเนิดมลพิษ 3 กลุ่ม คือ โรงงานอุตสาหกรรม ยานพาหนะ อื่นๆ (การเผาขยะของชาวบ้าน การทิ้งวัสดุเหลือใช้จากกิจกรรมต่างๆ เช่น ฟางข้าว เป็นต้น) มลพิษทางเสียง : จากแหล่งกำเนิด 2 กลุ่ม ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมและสถานประกอบการ ยานพาหนะ สิ่งแวดล้อมเมือง : การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกันก็นำมาซึ่งปัญหาบางประการ เช่น เมืองเติบโตแบบไร้ทิศทาง ขาดการวางผังเมืองที่ดี ขาดแคลนที่พักอาศัยที่เหมาะสม การให้บริการสาธารณูปโภคไม่เพียงพอ กากสารพิษและสารอันตราย : การลักลอบทิ้งสารเคมีที่ผ่านกระบวนการทางอุตสาหกรรม โดยไม่มีการบำบัดที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ

  23. สถิติคดีอาญาที่น่าสนใจ จำแนกตามประเภทความผิด พ.ศ. 2550 – 2553

  24. เปรียบเทียบพื้นที่ป่าชายเลนในเขตภาคตะวันออกเปรียบเทียบพื้นที่ป่าชายเลนในเขตภาคตะวันออก ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

  25. เขตป่าสงวนและเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน

  26. สภาพการกัดเซาะชายฝั่งทะเลใน ฝั่งอ่าวไทย ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

  27. ปริมาณขยะมูลฝอยในภาคตะวันออกปริมาณขยะมูลฝอยในภาคตะวันออก ที่มา : /1 ข้อมูลสำรวจปริมาณขยะอปท. ของสำนักทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดชลบุรี ปี 2552 /2 ข้อมูลสำรวจปริมาณขยะอปท. ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง ปี 2553 /3 ข้อมูลคาดการณ์ปริมาณขยะปี 2553 จากรายงานการศึกษาโครงการออกแบบรายละเอียดศุนย์กำจัด มูลฝอยรวมแบบครบวงจรจังหวัดฉะเชิงเทรา /4 ข้อมูลคาดการณ์ปริมาณขยะจากจำนวนประชากรปี 2553 จากรมการปกครอง

  28. Value Chain สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความร่วมมือและขีดความสามารถของ อปท. และภาคเอกชน ส่งเสริมและพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร • พัฒนากลไกเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมย่างยั่งยืน • บำรุงรักษา ฟื้นฟู เยียวยาทรัพยากรธรรมชาติ ประชาสัมพันธ์และสร้างความตระหนักเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพสิ่งแวดล้อม พัฒนาศูนย์การเรียนรู้และโครงการนำร่อง พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร พัฒนาระบบบริหารจัดการและกลไกกำกับดูแลสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ • ส่งเสริมบทบาทในการกำกับดูแลการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  29. การทบทวนข้อมูลตัวชี้วัดการทบทวนข้อมูลตัวชี้วัด

  30. การทบทวนข้อมูลตัวชี้วัด (ต่อ)

  31. ข้อมูลสรุปความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น (อ้างอิงแผนพัฒนาชุมชน)

  32. รายละเอียดผลการสำรวจที่สำคัญรายละเอียดผลการสำรวจที่สำคัญ

  33. การวิเคราะห์ PEST Factor ปัจจัยด้านการเมือง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ • ระเบียบ กฎหมายในปัจจุบัน และในอนาคต • นโยบายรัฐบาลในปัจจุบัน และในอนาคต • กฎ ระเบียบ นโยบายของต่างประเทศใน • ปัจจุบัน-อนาคต • ท่าทีกลุ่มผลประโยชน์ในประเทศ • และต่างประเทศ • สงคราม-ความขัดแย้งตามภูมิภาคต่างๆ • ของโลก • ฯลฯ • ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก • ความผันผวนของเงินทุนเคลื่อนย้าย • อุตสาหกรรมยานยนต์อยู่ในช่วงปรับฐาน • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง • 2.2 ล้านล้านบาท • การจัดการการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร • (โซนนิ่งเกษตร) • ฯลฯ ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านเทคโนโลยี • ทัศนคติ-ค่านิยมผู้บริโภค ทั้งภายใน-ภายนอก • พฤติกรรมการใช้จ่ายของผู้บริโภค • ประชากร: จำนวน ช่วงอายุ แนวโน้ม • บทบาทของสื่อต่างๆ • ความนิยม-แบบตัวอย่าง ของผู้บริโภค • มาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรม ทั้งในและ • ต่างประเทศ (แรงงานเด็ก,Green ฯ ) • ปัจจัยด้านศาสนา-เชื้อชาติ • ฯลฯ • แนวโน้มเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ • แนวโน้มเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร • แนวโน้มเทคโนโลยีด้านการคมนาคม ขนส่ง • และโลจีสติคส์ • แนวโน้มเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรม การผลิต • การรักษาพยาบาล ยารักษาโรค อุตสาหกรรม • ความงาม • แนวโน้มเทคโนโลยีด้านการก่อสร้าง • ฯลฯ

  34. ผลการทบทวนสภาวะแวดล้อม (SWOT) S W • ระบบการศึกษาผลิตบุคลากรไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ • ระบบโครงสร้างพื้นฐานไม่เพียงพอต่อความเจริญเติบโต • ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลาย/ปัญหาสิ่งแวดล้อม/ปัญหาขยะ • ปัญหาด้านแรงงาน เนื่องมาจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม • ปัญหาชีวิตคุณภาพตกต่ำอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเขตชุมชนเมืองหนาแน่น • ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในเขตชุมชนเมือง • ทำเลที่ตั้งเอื้อประโยชน์ทุกด้าน (เชื่อมโยงกรุงเทพฯ และปริมณฑล กับ “พื้นที่เศรษฐกิจใหม่”) • ความเข้มแข็งด้านเกษตรกรรม (ข้าว มันสาปะหลัง อ้อย มะม่วง มะพร้าว และหมาก) • ความเข้มแข็งด้านอุตสาหกรรม (อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์และส่วนประกอบ เป็นต้น) • เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม • ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลงเนื่องจากการบุกรุก • กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการพัฒนา • ค่าแรงที่สูงขึ้นส่งผลต่อการย้ายฐานการผลิต • ปัญหาขาดแคลนแรงงาน (แรงงานฝีมือ) • ความไม่แน่นอนของตลาดสินค้าเกษตรและมาตรฐานสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม (ปัญหาภูมิอากาศไม่แน่นอน ขาดระบบวัดมาตรฐานสินค้าเกษตรที่เป็นสากล) O T • โอกาสขยายฐานการผลิตและการให้บริการทุกด้าน โดยเฉพาะให้บริการด้านการขนส่ง • โอกาสในการพัฒนาการท่องเที่ยวจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • โอกาสในการพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองน่าอยู่อาศัยและการลงทุน • โอกาสในพัฒนาเป็นแหล่งผลิต/ แปรรูปอาหารที่สำคัญของประเทศสู่สากล • โอกาสในการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมต่อเนื่อง

  35. TOWS Matrix: SO (รุก) • ทำเลที่ตั้งเอื้อประโยชน์ทุกด้าน (เชื่อมโยงกรุงเทพฯ และปริมณฑล กับ “พื้นที่เศรษฐกิจใหม่”) • ความเข้มแข็งด้านเกษตรกรรม (ข้าว มันสาปะหลัง อ้อย มะม่วง มะพร้าว และหมาก) • ความเข้มแข็งด้านอุตสาหกรรม (อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์และส่วนประกอบ เป็นต้น) • เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม • ชุมชนรักถิ่นฐานและผูกพันในชุมชน จุดแข็ง (Strengths) ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ SO • ฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศและเพื่อการส่งออก • ศูนย์กลางกระจายสินค้าและบริการสู่ภูมิภาคอื่นๆ (Distribution Center) • พัฒนาการเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรแปรรูปสู่ตลาดโลก • พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรม • โอกาสขยายฐานการผลิตและการให้บริการทุกด้าน โดยเฉพาะให้บริการด้านการขนส่ง • โอกาสในการพัฒนาการท่องเที่ยวจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • โอกาสในการพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองน่าอยู่อาศัยและการลงทุน • โอกาสในพัฒนาเป็นแหล่งผลิต/ แปรรูปอาหารที่สำคัญของประเทศสู่สากล • โอกาสในการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โอกาส (Opportunities)

  36. TOWS Matrix: ST (ป้องกัน) จุดแข็ง (Strengths) • ทำเลที่ตั้งเอื้อประโยชน์ทุกด้าน (เชื่อมโยงกรุงเทพฯ และปริมณฑล กับ “พื้นที่เศรษฐกิจใหม่”) • ความเข้มแข็งด้านเกษตรกรรม (ข้าว มันสาปะหลัง อ้อย มะม่วง มะพร้าว และหมาก) • ความเข้มแข็งด้านอุตสาหกรรม (อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์และส่วนประกอบ เป็นต้น) • เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม • ชุมชนรักถิ่นฐานและผูกพันในชุมชน • อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตรเพื่อพัฒนาไปสู่ตลาดสากล • ยกระดับคุณภาพชีวิตและความปลอดภัยในทรัพย์สิน ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ ST • ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลงเนื่องจากการบุกรุก • ค่าแรงที่สูงขึ้นส่งผลต่อการย้ายฐานการผลิต • ปัญหาขาดแคลนแรงงาน (แรงงานฝีมือ) • ความไม่แน่นอนของตลาดสินค้าเกษตรและมาตรฐานสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม (ปัญหาภูมิอากาศไม่แน่นอน ขาดระบบวัดมาตรฐานสินค้าเกษตรที่เป็นสากล) • พื้นที่ดำเนินการยกระดับเป็นสังคมและชุมชนเมืองจนขาดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อุปสรรค (Threats)

  37. TOWS Matrix: WO (ปรับปรุง) • ระบบการศึกษาผลิตบุคลากรไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ • ระบบโครงสร้างพื้นฐานไม่เพียงพอต่อความเจริญเติบโต • ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลาย/ปัญหาสิ่งแวดล้อม/ปัญหาขยะ • ปัญหาด้านแรงงาน เนื่องมาจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม • ปัญหาชีวิตคุณภาพตกต่ำอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเขตชุมชนเมืองหนาแน่น • ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในเขตชุมชนเมือง จุดอ่อน (Weaknesses) • ยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตรและลดต้นทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน • พัฒนาระบบโลจิสติกส์และโครงข่ายการคมนาคมขนส่งให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน • กำหนดความเหมาะสมในการจัดเตรียมพื้นที่ รองรับภาคการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และLogistics • ยกระดับคุณภาพชีวิตและการเข้าถึงทรัพยากร ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WO • โอกาสขยายฐานการผลิตและการให้บริการทุกด้าน โดยเฉพาะให้บริการด้านการขนส่ง • โอกาสในการพัฒนาการท่องเที่ยวจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • โอกาสในการพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองน่าอยู่อาศัยและการลงทุน • โอกาสในพัฒนาเป็นแหล่งผลิต/ แปรรูปอาหารที่สำคัญของประเทศสู่สากล • โอกาสในการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โอกาส (Opportunities)

  38. TOWS Matrix: WT (เปลี่ยนแปลง) • ระบบการศึกษาผลิตบุคลากรไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ • ระบบโครงสร้างพื้นฐานไม่เพียงพอต่อความเจริญเติบโต • ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลาย/ปัญหาสิ่งแวดล้อม/ปัญหาขยะ • ปัญหาด้านแรงงาน เนื่องมาจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม • ปัญหาด้านคุณภาพนี่ลดลงต่ำลงต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเขตชุมชนเมืองหนาแน่น จุดอ่อน (Weaknesses) ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WT • ปรับปรุงการศึกษาและยกระดับฝีมือแรงงานเพื่อผลิตบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ • ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการพัฒนา • ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลงเนื่องจากการบุกรุก • กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการ • ค่าแรงที่สูงขึ้นส่งผลต่อการย้ายฐานการผลิต • ปัญหาขาดแคลนแรงงาน (แรงงานฝีมือ) • ความไม่แน่นอนของตลาดสินค้าเกษตรและมาตรฐานสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม (ปัญหาภูมิอากาศไม่แน่นอน ขาดระบบวัดมาตรฐานสินค้าเกษตรที่เป็นสากล) อุปสรรค (Threats)

  39. ฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศและเพื่อการส่งออกฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศและเพื่อการส่งออก • ศูนย์กลางกระจายสินค้าและบริการสู่ภูมิภาคอื่นๆ (Distribution Center) • พัฒนาการเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรแปรรูปสู่ตลาดโลก • พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และวัฒนธรรม ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ SO ประเด็นยุทธศาสตร์ • พัฒนาทุนทางสังคมและความมั่นคงสู่สังคมเป็นสุข • เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตรปลอดภัย • ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมให้กลับสู่สมดุล • พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมได้มาตรฐาน • เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของภาคอุสาหกรรมและพาณิชยกรรมรองรับ AEC และตลาดโลก ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ ST • อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตรเพื่อพัฒนาไปสู่ตลาดสากล • ยกระดับคุณภาพชีวิตและความปลอดภัยในทรัพย์สิน • ยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตรและลดต้นทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน • พัฒนาระบบโลจิสติกส์และโครงข่ายการคมนาคมขนส่งให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน • กำหนดความเหมาะสมในการจัดเตรียมพื้นที่ รองรับภาคการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และLogistics • ยกระดับคุณภาพชีวิตและการเข้าถึงทรัพยากร ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WO • ปรับปรุงการศึกษาและยกระดับฝีมือแรงงานเพื่อผลิตบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ • ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการพัฒนา • ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ WT

  40. แผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2557 – 2560 ร่างวิสัยทัศน์ :ศูนย์กลางแห่งบูรพาวิถีสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ฐานอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมโดดเด่น เป็นเลิศสินค้าเกษตร ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สังคมเป็นสุข เป้าประสงค์ : เศรษฐกิจมีการขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ สังคมคุณภาพ สิ่งแวดล้อมมั่นคง ประชาชนเป็นสุข มีความพร้อมในการเข้าสู่เศรษฐกิจอาเซียน และสากล ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 2557-2560 1 เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของภาคอุสาหกรรมและพาณิชย กรรมรองรับ AEC และตลาดโลก 2 เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับขีดความ สามารถในการแข่งขันของภาคเกษตรปลอดภัย 3 พัฒนาการท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรมได้มาตรฐาน สากล 4 ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมให้สมดุล 5 พัฒนาทุนทางสังคมและความมั่นคงสู่สังคมเป็นสุข

  41. สรุปประเด็นยุทธศาสตร์สรุปประเด็นยุทธศาสตร์ • พัฒนาทุนทางสังคมและความมั่นคงสู่สังคมเป็นสุข • เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตรปลอดภัย • ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมให้กลับสู่สมดุล • พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมได้มาตรฐาน • เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของภาคอุสาหกรรมและพาณิชยกรรมรองรับ AEC และตลาดโลก

  42. 3.4 การจัดลำดับความสำคัญประเด็นยุทธศาสตร์ การเชื่อมโยง Integration • เป็นไปในทิศทางเดียวกับตำแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์หรือไม่? ความเร่งด่วน Urgency • มีความจำเป็นที่จะต้องเร่งพัฒนาหรือปรับปรุงใน 3-5 ปีข้างหน้า ระดับไหน ผลกระทบ Potential Impact • มีผลกระทบด้านบวกทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมต่อจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ระดับไหน ? ความเป็นไปได้ Actionable • มีความเป็นไปได้ที่จะประสบความสำเร็จ ระดับไหน ? ความต้องการของประชาชน Acceptable • ตรงกับความต้องการของประชาชนหรือไม่? ประชาชนให้ความสำคัญหรือไม่?

  43. วิสัยทัศน์:“ศูนย์กลางแห่งบูรพาวิถีสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ฐานอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมโดดเด่น เป็นเลิศสินค้าเกษตร ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สังคมเป็นสุข”

  44. จังหวัดฉะเชิงเทรา : วิสัยทัศน์: ศูนย์กลางแห่งบูรพาวิถีสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ฐานอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมโดดเด่น เป็นเลิศสินค้าเกษตร ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สังคมเป็นสุข

  45. จังหวัดนครนายก : (ต่อ)

  46. จังหวัดนครนายก : (ต่อ)

  47. รายชื่อคณะที่ปรึกษาและนักวิจัยของRDGรายชื่อคณะที่ปรึกษาและนักวิจัยของRDG นายมนุชญ์ วัฒนโกเมร ที่ปรึกษาอาวุโส น.ส.ทัศนีย์ ดุสิตสุทธิรัตน์ ที่ปรึกษา นายนิคม เกิดขันหมาก ที่ปรึกษา นายศิวะ ศิริเสาวลักษณ์ ที่ปรึกษา นายพินิจ พิชยกัลป์ ที่ปรึกษา นายสุพจน์ ลาภปรารถนา ผู้อำนวยการโครงการ ดร.บัญชร ส่งสัมพันธ์ นักวิจัยอาวุโส ดร.ยุทธศักดิ์ สุภสร นักวิจัยอาวุโส ดร.ปรียา ผาติชล นักวิจัยอาวุโส ดร.สุรัตน์ ตันเทอดทิพย์ นักวิจัยอาวุโส น.ส.ดารัตน์ บริพันธกุล นักวิจัยอาวุโส น.ส. อรนุช เฉยเคารพ นักวิจัยอาวุโส น.ส. ไปยดา หาญชัยสุขสกุล นักวิจัยอาวุโส น.ส. วิภาพร เอี่ยมศิลา นักวิจัยอาวุโส น.ส. ลัดดาวัลย์ ราชุรัชต นักวิจัยอาวุโส นายอิทธิศักดิ์ ลือจรัสไชย นักวิจัยอาวุโส น.ส. ตรีรินทร์ เฟื่องอารมณ์ นักวิจัย นายดรัณ วิศวกรรม นักวิจัย นายบุญชาต ชัยปาริฉัตร์ นักวิจัย น.ส. กนลรัตน์ เหลืองสด นักวิจัย • ผลงานที่แล้วเสร็จ ในปี 2555 • โครงการแปลงแผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทยสู่การปฏิบัติ • เชิงพื้นที่ใน 10 จังหวัด ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ • โครงการเสริมสร้างความความสามารถของชุมชนเพื่อ • การมีส่วนร่วม ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี • โครงการเตรียมความพร้อมจังหวัดนครราชสีมาเข้าสู่ประชาคม • เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี • (พ.ศ.2557-2560) และแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2557 • โครงการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง 4 ปี • (พ.ศ.2557-2560) และแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดภาคกลาง • ตอนกลางประจำปีงบประมาณ 2557 • โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมความพร้อมรองรับประชาคม • เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 2558 ของจังหวัดลพบุรี (พ.ศ.2555) • โครงการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา 4 ปี พ.ศ.2557-2560 • โครงการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี 4 ปี พ.ศ.2557-2560 • โครงการเตรียมความพร้อมรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • (AEC) และจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดนครปฐม 4 ปี พ.ศ.2557-2560 • โครงการสามัคคีสร้างความปลอดภัย ของจังหวัดสุพรรณบุรี จากทีมงาน RDG • Reengineering & Development Group (RDG) • คือการรวมตัวของเหล่านักวิชาการหลากหลายสาขา ที่มีความชำนาญด้านการจัดทำยุทธศาสตร์ การวิเคราะและปรับระบบองค์การ และการจัดทำเวิร์คช็อป การฝึกอบรม เพื่อเพิ่มสมรรถนะบุคลากรในองค์การ • ปี 2554 RDG ก็คือ RDC (Regional Development Center) ซี่งเป็นพันธมิตรกับสถาบัน IGP ของสำนักงาน ก.พ.ร. • ปี 2555 RDC ได้แยกตัวออกมา และเป็นพันธมิตรกับสถาบันวิชาการทุกสถาบัน • ต้นปี 2556 RDC ได้ Rebranding เป็น RDG • หรือ Reengineering & Development Group • ผลงานที่เสร็จแล้ว ในปี 2554 • โครงการจัดทำแผนปฏิบติราชการประจำปี 2556 จ.ลพบุรี • โครงการจัดทำแผนปฏิบติราชการประจำปี 2556 จ.สุพรรณบุรี • โครงการจัดทำแผนปฏิบติราชการประจำปี 2556 ภาคกลาง • ตอนบน 2 • โครงการจัดทำแผนปฏิบติราชการประจำปี 2556 จ.นครปฐม • โครงการพัฒนาระบบบริหารสินค้าคงคลังและการขนส่ง • กลุ่มภาคกลางตอนบน 2 • โครงการ ที่กำลังดำเนินการอยู่ใน ปี2556 • โครงการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทราประจำปี พ.ศ.2558 • โครงการแปลงแผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทยสู่การปฏิบัติเชิงพื้นที่ใน 2 กลุ่มจังหวัด ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ • โครงการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพกรมการท่องเที่ยว • โครงกาฝึกรอบรม T-expert กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา • โครงการฝึกอบรม T-pro กระทรวงการท่องทั่ยวและกีฬา • โครงการจัดตั้งงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นองค์การมหาชน ติดต่อ RDG นายสุพจน์ ลาภปรารถนา 088-670-3335; 081-622-6755

More Related