640 likes | 858 Views
อาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม Genetically Modified Foods : GM Foods. เภสัชกร วิษณุ ทรัพย์วิบูลย์ชัย รหัส 43075688 เภสัชกร ศรากร แก้วมีชัย รหัส 43075811. หัวข้อที่นำเสนอ. ความหมายของ GM Foods วิธีการดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ายสารพันธุกรรม วิธีการตรวจหา GMOs ในพืช และ อาหาร
E N D
อาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรมอาหารที่ได้จากการดัดแปลงพันธุกรรม Genetically Modified Foods : GM Foods
เภสัชกร วิษณุ ทรัพย์วิบูลย์ชัย รหัส 43075688 เภสัชกร ศรากร แก้วมีชัย รหัส 43075811
หัวข้อที่นำเสนอ • ความหมายของ GM Foods • วิธีการดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ายสารพันธุกรรม • วิธีการตรวจหา GMOs ในพืช และ อาหาร • ตัวอย่างของ GM Foods • การประเมินความปลอดภัยของGM Foods • การแสดงฉลากของ GM Foods • นโยบายของไทยและต่างประเทศต่อ GM Foods • บทสรุป
Genetically Modified Organisms ( GMOs) คืออะไร ? สิ่งมีชีวิตที่ได้จากการดัดแปลงสารพันธุกรรม คือ DNA ซึ่งเกิดขึ้นโดยมนุษย์ และใช้กรรมวิธีทางพันธุวิศวกรรมเท่านั้นสิ่งมีชีวิตที่ว่านี้อาจเป็น จุลินทรีย์ สัตว์ หรือ พืช
Genetically Modified Foods (GM Foods) คืออะไร ? อาหารที่ได้จาก GMOs ส่วนใหญ่ที่ได้รับการกล่าวถึงในปัจจุบัน คือ พืช
วิธีการดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ายสารพันธุกรรมวิธีการดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ายสารพันธุกรรม Recombinant DNA Technology Restriction Enzyme
Restriction Enzyme • EcoRI Escherichia coli • BamHI Bacillus amyloliquefaciens • HindIII Haemophilus influenzae • MstII Microcoleus species Restriction EnzymeSource
Restriction Enzyme Restriction EnzymeSource • TaqI Thernius aquaticus • NotI Nocardia otitidis • AluI Arthrobacter luteus
ยีนที่นิยมนำมาใช้ในการตัดต่อยีนที่นิยมนำมาใช้ในการตัดต่อ • ยีนที่ควบคุมการสร้าง phosphinothricin acetyltransferase ได้จาก Streptomyces viridochromogenes ควบคุมการสร้างโปรตีนที่ต้านทานยาฆ่าแมลง Glufosinate • ยีน cry9C ได้จาก Bacillus thuringiensisควบคุมการสร้างโปรตีนที่มีพิษต่อแมลง
ยีนที่นิยมนำมาใช้ในการตัดต่อยีนที่นิยมนำมาใช้ในการตัดต่อ • ยีน nitrilase ได้จาก Klebsiella ozaenaeควบคุมการสร้างโปรตีนที่ต้านทานยาฆ่าแมลง Bromoxynil ได้
วิธีการดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ายสารพันธุกรรมวิธีการดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ายสารพันธุกรรม • ใช้จุลินทรีย์ชนิดพิเศษ ที่นิยมใช้ คือ Agrobacterium spp. • Plasmid • ligase enzyme • ใช้ปืนยิงยีน ( Gene Gun )
การใช้ agrobacteriumเพื่อพายีนที่ถูกดัดแปลงเข้าไปในเซลล์
ตัวช่วยให้ยีนที่ใส่เข้าไปทำงานได้ตัวช่วยให้ยีนที่ใส่เข้าไปทำงานได้ • ตัวควบคุมการทำงานของยีนให้เริ่มต้น ( promoter ) • CaMV 35S promoter • ตัวควบคุมการทำงานของยีนให้ยุติ ( terminator ) • NOS terminator • ตัวบ่งชี้การปรากฏของยีน ( marker gene ) • ยีนที่สามารถต้านยาปฏิชีวนะ
วิธีการตรวจหา GMOs ในพืชหรืออาหาร Polymerase Chain Reaction ( PCR ) ใช้ในการประเมินเชิงคุณภาพ ELISA ใช้วิเคราะห์เชิงปริมาณ
ตัวอย่างอาหาร GM Foods • ถั่วเหลือง ที่ทนต่อยากำจัดวัชพืช และมีผลผลิตสูงกว่าปกติ • ข้าวโพด ที่ทนแมลงและยากำจัดวัชพืช • ฝ้าย BT ซึ่งมีคุณสมบัติในการฆ่าหนอนเจาะสมอฝ้ายได้ • มะละกอ ที่ต้านทานไวรัสได้ • มะเขือเทศและแคนตาลูป ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษ ในการชะลอการสุกงอม
ตัวอย่างอาหาร GM Foods • มันฝรั่ง ซึ่งทนต่อแมลงและไวรัส • Sugar Beet ที่ทนต่อยากำจัดวัชพืช Glyphosate • Canola ที่ทนต่อยากำจัดวัชพืช Glufosinate • ผัก Radicchio rosso ที่เกสรตัวผู้เป็นหมัน • เอนไซม์ ไคโมซิน ที่ใช้ในการผลิตเนยแข็ง
การประเมินความปลอดภัยของ GM Foods หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ ( Substantial Equivalence Concept )
หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญหลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ 1 ผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดงว่ามีสาระสำคัญ เท่ากันกับอาหารหรือส่วนประกอบของอาหารที่มีอยู่เดิม
ข้อมูลที่ทำการประเมินประกอบด้วยข้อมูลที่ทำการประเมินประกอบด้วย • Host • Inserted DNA • Modified organism • Phenotype characteristics • Compositional comparison
หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญหลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ 2 ผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดงว่ามีสาระสำคัญเท่ากันกับอาหารหรือส่วนประกอบของอาหารที่มีอยู่เดิมเว้นแต่มีข้อแตกต่างที่แสดงให้เห็นชัดเจน (defined differences)
หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญหลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ 3 ผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดงสาระสำคัญไม่เท่ากันกับอาหารหรือส่วนประกอบของอาหารที่มีอยู่เดิม
หลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญหลักการของความเท่าเทียมกันในสาระสำคัญ ในกรณีที่แสดงความไม่เท่าเทียมกันในสาระสำคัญ ก็ไม่ได้หมายความว่าผลิตภัณฑ์ไม่ปลอดภัย การทดสอบความปลอดภัยนั้นควรมีการออกแบบกรณี ๆ ไป ตามคุณลักษณะอ้างอิงของอาหารหรือส่วนประกอบของอาหารนั้น และควรมีการศึกษาปัญหาเกี่ยวกับอาการแพ้ที่เกิดขึ้นจากใช้เทคนิคการดัดแปลงสารพันธุกรรมในอาหารนั้นด้วย
Codex • ในการควบคุม และแสดงฉลากของอาหารที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงยีนนั้น ปัจจุบันหน่วยงานร่วมของ WHO/FAO คือคณะกรรมาธิการมาตราฐานอาหารระหว่างประเทศ (Codex Alimentation Commission) กำลังอยู่ในระหว่างการกำหนดระเบียบและวิธีการในการควบคุม
สหรัฐอเมริกา • การเปลี่ยนแปลงยีน (Genetic Modification) • สารที่เป็นพิษ (Toxicants) • สารอาหาร (Nutrients) • สารชนิดใหม่ (New substance)
กลุ่มสหภาพยุโรป • ให้มีการแสดงฉลากของผลิตภัณฑ์ที่มี หรือประกอบด้วย หรือได้มาจาก “จีเอ็มโอ” • ฉลากมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภคที่ชัดเจนเป็นจริง และเป็นกลาง • การแสดงฉลากบังคับ โดยอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์
กลุ่มสหภาพยุโรป • เพื่อให้ปฏิบัติตามได้อย่างง่าย • การแสดงฉลากต้องมีความเหมาะสม • มีกฎของการเสดงฉลากที่รัดกุม
กลุ่มสหภาพยุโรป • ผลิตภัณฑ์ที่ปราศจาก “จีเอ็มโอ” สามารถวางตลาดโดยไม่ต้องระบุในฉลาก • สำหรับผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองว่าไม่มี “จีเอ็มโอ” ถ้าต้องการระบุในฉลากจะต้องเป็นไปตามข้อกฎของ อียู
กลุ่มสหภาพยุโรป • สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มี “จีเอ็มโอ” มีทางเลือกแสดงฉลาก 2 ทาง คือ 1. “ประกอบด้วยวัตถุที่เป็นจีเอ็มโอ” สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มี “จีเอ็มโอ” และต้องพิสูจน์ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 2. หรืออีกแนวทางหนึ่ง เช่น “อาจประกอบด้วย…”
คณะกรรมการว่าด้วยพืชเสนอทางเลือกในการแสดงฉลากคณะกรรมการว่าด้วยพืชเสนอทางเลือกในการแสดงฉลาก
การสมัครใจแสดงฉลาก เช่น “ผลิตภัณฑ์นี้ ไม่ได้ประกอบด้วย…” สำหรับผลิตภัณฑ์ที่รับรองแล้วว่าปราศจากจีเอ็มโอ • การบังคับแสดงฉลาก เช่น “ผลิตภัณฑ์นี้ อาจประกอบด้วย…” ในกรณีที่ไม่สามารถแยกวัตถุดิบได้ และไม่มีหลักฐานแสดง
คณะกรรมการว่าด้วยพืชเสนอหลักการแสดงฉลากGMOsใหม่คณะกรรมการว่าด้วยพืชเสนอหลักการแสดงฉลากGMOsใหม่
มีการตั้งระดับปริมาณจีเอ็มโอ ที่มีอยู่ในส่วนประกอบของอาหารโดยบังเอิญ โดยกำหนดเป็นขั้นต่ำ 1 % สำหรับส่วนประกอบของอาหาร ซึ่งการแสดงฉลากปัจจุบัน ครอบคลุมถึงถั่วเหลืองและข้าวโพด ถ้ามีการรับรองอาหารจีเอ็มโอชนิดใหม่ ก็จะต้องใช้หลักการเดียวกันนี้
ต่อ • เกณฑ์ขั้นต่ำ ที่เสนอนั้น ใช้ปฏิบัติเฉพาะสำหรับวัตถุที่เตรียมไว้สำหรับการบริโภคของคน และใช้เฉพาะในกรณีดังต่อไปนี้ ที่มาของ “จีเอ็มโอ” ต้องเกิดจากเหตุบังเอิญ หมายความว่า ผู้ปฏิบัติ ต้องแสดงหลักฐานว่า เขาได้พยายามหลีกเลี่ยงการใช้ “จีเอ็มโอ” แล้ว
ญี่ปุ่น • พืช GMOs ซึ่งมีสาระสำคัญไม่เท่ากับอาหารที่มีอยู่เดิมตามธรรมชาติ และอาหารสำเร็จรูป ที่ผ่านกรรมวิธีผลิต ต้องมีการแสดงฉลาก โดยเฉพาะ ถั่วเหลือง ที่มี oleic acid สูง ฉลากบังคับแสดงว่า “High Oleic Acid/GMO”
ญี่ปุ่น • อาหารที่มีปริมาณของ GMOs เป็นส่วนประกอบ จะต้องแสดงฉลากว่า GMO-used • อาหารที่ไม่มีปริมาณของ GMOs เป็นส่วนประกอบ จะต้องแสดงฉลากว่า GMO non-separated
แนวความคิดหลักในการควบคุม หรือบริหาร จัดการ GMOs หรือ ผลิตภัณฑ์จาก GMOs ให้ มีความปลอดภัย คือ • “ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety)” • "ความปลอดภัยของอาหาร (food safety)"
ญี่ปุ่น หลักการในการควบคุม 2 ประเด็นคือ • การประเมินความปลอดภัยก่อนออกสู่ท้องตลาด • กระบวนการผลิตต้องเป็นไปตามมาตราฐาน
การแสดงฉลากอาหารที่ได้จากการตัดแต่งสารพันธุกรรมและอาหารที่มีสารก่อให้เกิดการแพ้การแสดงฉลากอาหารที่ได้จากการตัดแต่งสารพันธุกรรมและอาหารที่มีสารก่อให้เกิดการแพ้
อาหาร (Designated Processed Foods) ที่ผลิตจาก GM Applicable Crops ที่ปัจจุบันได้มีการตัดแต่งสารพันธุกรรม • แสดงข้อความ “genetically modified varieties segregated”
อาหาร (Designated Processed Foods) ที่ผลิตจาก Applicable Crops ที่ไม่มีระบบการคัดแยกส่วนที่เป็น GM และ Non – GM ในระหว่างการขนส่งการผลิตและการแปรรูป • แสดงข้อความ “genetically modified varieties not segregated”
อาหาร (Designated Processed Foods) ที่ผลิตจาก Non – GM Applicable crop ยืนยันว่ามีระบบการจัดการคัดแยก • แสดงข้อความอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้ - แสดงชื่อส่วนประกอบ โดยไม่มีวงเล็บ - แสดงข้อความ "non – genetically modified varieties segregated”
นโยบายจีเอ็มโอนานาชาตินโยบายจีเอ็มโอนานาชาติ
ญี่ปุ่น อาหารที่แสดงฉลาก แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ตามแผน คือ 1. อาหารที่เสริมคุณค่าของอาหาร โดยผลิตขึ้นจากจีเอ็มโอ 2. อาหารจีเอ็มโอ ที่มีปริมาณสารอาหารเพิ่มขึ้น (อาหารส่วนมากที่ต้องแสดงฉลาก จะตกอยู่ในกลุ่มนี้) 3. อาหารที่ไม่ทราบส่วนผสมของวัตถุดิบจากธรรมชาติ และจากจีเอ็มโอ ต้องแสดงฉลาก แจ้งให้ผู้บริโภคทราบว่า มีวัตถุดิบจากจีเอ็มโออยู่ แต่ไม่ได้แสดงรายละเอียด
เกาหลีใต้ • กำลังพิจารณาเลือกซื้อข้าวโพดจากประเทศจีนแทนการซื้อจากสหรัฐอเมริกา • ใช้กฎหมายควบคุมคุณภาพการเกษตรและประมง เพื่อควบคุมการแสดงฉลากจีเอ็มโอ เพื่อหลีกเลี่ยงเมล็ดพืชจีเอ็มโอ
ออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์ออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์ • ได้เสนอแนะมาตรฐานการบังคับใช้ฉลาก คล้ายกับที่ใช้ในสหรัฐ ขึ้นอยู่กับสารก่อภูมิแพ้ และการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพสารอาหาร และส่วนประกอบของอาหาร
สหภาพยุโรป (อียู) • การบังคับใช้ฉลากสำหรับวัตถุดิบถั่วเหลืองและข้าวโพดจีเอ็มโอ ให้มีผลบังคับใช้ การควบคุมได้กำหนดเฉพาะว่า ภาชนะบรรจุใด ผลิตขึ้นสำหรับผลิตภัณฑ์ที่มี ถั่วเหลืองและข้าวโพดจีเอ็มโอ จะต้องมีอักษรแสดงอย่างชัดเจนว่า “ได้รับการเปลี่ยนแปลงยีน”
แคนนาดา • เป็นประเทศที่ผลิตเมล็ดพืชจีเอ็มโอมากเป็นอันดับสอง รองจากอเมริกา และกฎหมายการแสดงฉลากคล้ายๆกับสหรัฐอเมริกา