590 likes | 922 Views
การจัดการความรู้ (Knowledge Management). Dr.kanungdach Cheamvarasart. เนื้อหา. ความหมาย รูปแบบ ประโยชน์ กระบวนการ แผนการจัดการความรู้ ตัวอย่าง. งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม. การจัดการความรู้ในภาคราชการ.
E N D
การจัดการความรู้(Knowledge Management) Dr.kanungdachCheamvarasart
เนื้อหา • ความหมาย • รูปแบบ • ประโยชน์ • กระบวนการ • แผนการจัดการความรู้ • ตัวอย่าง งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
การจัดการความรู้ในภาคราชการการจัดการความรู้ในภาคราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 11 ว่าด้วย “การส่งเสริมให้ส่วนราชการมีการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ในองค์กรอย่างสม่ำเสมอ เน้นการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร สามารถประมวลความรู้ และนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งการส่งเสริมพัฒนาความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม ค่านิยม ทัศนคติ ของข้าราชการให้มีประสิทธิภาพ มีการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดสัมฤทธิผล และการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน” งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
โครงการความเป็นเลิศ การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ -จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ R10P4 ระดับความสำเร็จของการใช้สารสนเทศในการจัดการความรู้ R10P4U1 ระดับความสำเร็จในการจัดการความรู้ด้านโรคและ กลุ่มโรคที่สำคัญ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
From Data to Wisdom Wisdom Knowledge Information Data งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
Learning Organization:Peter M. Senge (1990) เป็นองค์การซึ่งคนในองค์การสามารถขยายขอบเขตความสามารถของเขา เพื่อก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการได้อย่างแท้จริง เป็นที่ๆ ส่งเสริมให้เกิดและขยายแนวความ คิดใหม่ๆ ออกไป สามารถแสดงออกทางความคิด ได้อย่างอิสระ และเป็นที่ๆ คนจะเรียนรู้ด้วยกันอย่างต่อเนื่อง งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
คุณสมบัติของคนในระบบเศรษฐกิจฐานความรู้คุณสมบัติของคนในระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ • คนที่รักการเรียนรู้ • ใฝ่เรียนใฝ่รู้ • เปิดใจรับฟังความคิดเห็น • มีตัวแบบความคิดที่ดี และถูกต้อง • คิดอย่างเป็นระบบ • สามารถทำงานเป็นทีมได้ดี งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ประเภทของความรู้ 1.ความรู้โดยนัยหรือความรู้ที่มองไม่เห็น (Tacit Knowledge) 2.ความรู้ที่ชัดแจ้งหรือความรู้ที่เป็นทางการ (Explicit Knowledge) งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
มนุษย์ ทุนที่สำคัญขององค์กร ที่สามารถพัฒนาศักยภาพได้อย่างไม่จำกัด งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ปัจจัยที่ส่งเสริมการจัดการความรู้ปัจจัยที่ส่งเสริมการจัดการความรู้ • วัฒนธรรมและพฤติกรรมของคนในองค์กร • ผู้นำและการสร้างกลยุทธ์ • เทคโนโลยี • การวัดผลและการนำไปใช้ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ตัวอย่างองค์กร • บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) • โรงพยาบาลศิริราช • บริษัท 3 เอ็ม งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ความหมายการจัดการความรู้ความหมายการจัดการความรู้ • กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดกระบวนการของการสร้างความรู้ การจัดเก็บ การปฏิบัติและการแบ่งปันความรู้ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในองค์กร งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ความหมายการจัดการความรู้ (ต่อ) • กระบวนการที่ประกอบด้วยงานต่าง ๆ จำนวนมากซึ่งมีการบริหารจัดการในลักษณะบูรณาการเพื่อก่อให้เกิดคุณประโยชน์ที่คาดหวังไว้ การจัดการความรู้จึงเป็นแนวคิดองค์รวมที่จะบริหารจัดการทรัพยากรที่เป็นความรู้ ในองค์กร งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ความหมายการจัดการความรู้ (ต่อ) • เครื่องมือ สารสนเทศและกลยุทธ์ที่หลงเหลือจากการสังเคราะห์ความรู้ในองค์กร การปรับปรุงพัฒนา และการแลกเปลี่ยน • เครื่องมือเพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการ ไปพร้อม ๆ กัน ได้แก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคน บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้ บรรลุความเป็นชุมชน เป็นหมู่คณะ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ความหมายการจัดการความรู้ (ต่อ) • การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ข้อมูล ไปสู่ สารสนเทศ เพื่อให้เกิด ความรู้ และปัญญาในที่สุด งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ความหมายการจัดการความรู้ (ต่อ) • การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ประโยชน์ของการจัดการความรู้ประโยชน์ของการจัดการความรู้ • ป้องกันความรู้สูญหาย • เพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ • ความสามารถในการปรับตัวและมีความยืดหยุ่น • ความได้เปรียบในการแข่งขัน • การลงทุนทางทรัพยากรบุคคล • เพิ่มศักยภาพขององค์กร งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ระดับของความรู้ 1.ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) 2.ความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) 3.ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) 4.ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) 1.การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 2.การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) (ต่อ) 3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) (ต่อ) 5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7.การเรียนรู้ (Learning) 8.การยกย่องชมเชย (Recognition Reward) งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
1.การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) • เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร • เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) • ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร • จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) • จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) • จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) • เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) • มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
7.การเรียนรู้ (Learning) • ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ • ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
8.การยกย่องชมเชย (Recognition Reward) • มีการยกย่องชมเชยอย่างไร งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ประธาน (CKO) - ให้การสนับสนุนในด้านต่างๆ เช่น ทรัพยากร - ให้คำปรึกษาแนะนำและร่วมประชุมเพื่อการตัดสินใจแก่คณะทำงาน - ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการดำเนินการ และอุปสรรคต่างๆที่เกิดขึ้นกับคณะทำงาน ที่ปรึกษา - จัดทำแผนงานการจัดการความรู้ในองค์กรเพื่อนำเสนอประธาน - รายงานผลการดำเนินงานและความคืบหน้าต่อประธาน - ผลักดัน ติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข - ประสานงานกับคณะที่ปรึกษาและคณะทีมงาน หัวหน้า เลขานุการ - ดำเนินการตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย - จัดทำรายงานความคืบหน้าของงานในส่วนที่รับผิดชอบ - เป็น “แบบอย่างที่ดี” ในเรื่องการจัดการความรู้ - เป็น Master Trainer ด้านการจัดการความรู้ ทีมงาน โครงสร้าง KM Team • - นัดประชุมคณะทำงานและทำรายงานการประชุม • - รวบรวมรายงานความคืบหน้าการดำเนินงาน • - ประสานงานกับคณะทีมงานและหัวหน้า งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ข้อเสนอแนะการจัดตั้ง KM Team 1. การประกาศแต่งตั้งโครงสร้างทีมงาน KM ขอให้ระบุถึง ชื่อ-นามสกุล, ตำแหน่งงาน และหน่วยงานที่สังกัดอยู่ตามผังองค์กรปัจจุบัน พร้อมด้วยรายละเอียดหน้าที่และความรับผิดชอบของทุกตำแหน่ง งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ข้อเสนอแนะการจัดตั้ง KM Team (ต่อ) 2. ทีมงาน KM ที่ต้องดำเนินการตามเป้าหมาย KM ที่เลือกไว้ ควรจะเชื่อมโยงกับหัวข้อเรื่อง การจัดแบ่งงานและหน้าที่ ใน Blueprint for Change เพื่อให้เป็นหน่วยงานหนึ่งของแผนผังโดยรวมขององค์กร งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ข้อเสนอแนะการจัดตั้ง KM Team (ต่อ) 3. การพิจารณาโครงสร้างทีมงาน KM เพื่อจะมีบุคลากรที่ต้องเกี่ยวข้องและ/หรือ มีส่วนที่ต้องสนับสนุนต่อการดำเนินการตามเป้าหมาย KM ที่เลือกไว้ให้บรรลุผลสำเร็จตามแผนนั้น มีกลุ่มบุคลากรที่ควรพิจารณาดังนี้คือ 3.1. ผู้บริหารระดับสูงสุด จะต้องมีส่วนร่วมในการกำหนดโครงสร้างทีมงาน KM งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ข้อเสนอแนะการจัดตั้ง KM Team (ต่อ) 3.2. หน่วยงานเจ้าของกระบวนงานตามเป้าหมาย KM (Work Process Owner) ควรประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานนั้น, ผู้รับผิดชอบกระบวนงานนั้น งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ข้อเสนอแนะการจัดตั้ง KM Team (ต่อ) 3.3. หน่วยข้ามสายงาน (Cross Functional Unit) ที่ต้องเกี่ยวข้อง และ/หรือ มีส่วนที่ต้องสนับสนุนต่อการดำเนินการตามเป้าหมาย KM เช่น หน่วยงาน IT, ทรัพยากรบุคคล, สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์, หน่วยพิจารณาภาพรวมค่าใช้จ่ายขององค์กร ฯลฯ ควรประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานนั้น, ตัวแทนผู้รับผิดชอบหน่วยงาน งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ข้อเสนอแนะการจัดตั้ง KM Team (ต่อ) 3.4. หน่วยงาน /บุคคลอื่นๆ ที่เหมาะสม และผู้บริหารระดับสูงสุดต้องการมอบหมาย 4. กรณีที่การจัดการความรู้ขององค์กร มีความจำเป็นและสามารถจะจัดสรรงบประมาณได้ เพื่อจะนำเทคโนโลยีด้าน IT มาใช้ ควรจะมีหน่วยงาน IT เข้าร่วมทีมงาน KM ด้วย งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
เครื่องมือในการปฏิบัติเครื่องมือในการปฏิบัติ • ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice) • การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Mentoring Programs) • การเสวนา (Dialogue) • ฐานความรู้บทเรียนจากความสำเร็จ (Lesson Learned and Best Practice Databases) งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
เครื่องมือในการปฏิบัติ (ต่อ) • การทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Action Review) • แหล่งผู้รู้ในองค์กร (Center of Excellence) • การเล่าเรื่อง (Story Telling) • เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) • เวทีถาม- ตอบ (Forum) งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ปลาทูโมเดล KV KA KS งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
The Fifth Discipline: Peter M. Senge • การใฝ่เรียนใฝ่รู้ (Personal Mastery) • ความเชื่อฝังใจ (Mental Models) • วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) • การเรียนรู้ของทีม (Team Learning) • การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
การใฝ่เรียนใฝ่รู้ (Personal Mastery) การเรียนรู้เพื่อที่จะขยายขอบเขตความสามารถส่วนบุคคลในการสร้างสรรค์ผลงานซึ่งได้ตั้งเป้าหมายไว้สูงสุด ตลอดจนการสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมขององค์กร ที่จะสนับสนุนส่งเสริมให้สมาชิกในองค์กรได้พัฒนาตนเองมุ่ง สู่เป้าหมาย และจุดมุ่งหมายที่ได้เลือกไว้ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ความเชื่อฝังใจ (Mental Models) การสะท้อนความเชื่อ การทำความเชื่อฝังใจให้ปรากฏ และการปรับเปลี่ยนภาพที่ปรากฏภายในจิตใจเกี่ยวกับโลก และสภาพแวดล้อมขององค์กร ตลอดจนแสวงหาวิถีทางที่จะเปลี่ยนการกระทำและการตัดสินใจของบุคคลในองค์กรให้เหมาะสมถูกต้องกับความเป็นจริง งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) การสร้างสำนึกแห่งพันธะสัญญาร่วมกันในกลุ่ม โดยการพัฒนาภาพลักษณ์แห่งอนาคต ร่วมกัน ตลอดจนพัฒนาหลักการพื้นฐาน และแนวทางปฏิบัติซึ่งสมาชิกในกลุ่มหรือทีมงานยอมรับร่วมกัน งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
การเรียนรู้ของทีม (Team Learning) การแปรเปลี่ยนทักษะในการคิด และการสนทนาในทีมงาน ซึ่งช่วยให้สมาชิกของทีมงานเรียนรู้ที่จะพัฒนาความเฉลียวฉลาด และความสามารถอย่างสร้าง สรรค์ซึ่งได้ผลมากกว่าการนำเอาพรสวรรค์ของสมาชิกแต่ละบุคคลมารวมกัน งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) วิธีการคิด และการสร้างภาษาที่สามารถอธิบาย และทำความเข้าใจพลังต่างๆ และความสัมพันธ์ระหว่างกัน ซึ่งก่อให้เกิดพฤติกรรมของระบบที่ต้องการศึกษา วินัยนี้จะช่วยให้เราได้มองเห็นวิธีที่จะเปลี่ยนแปลงระบบอย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น และสามารถลงมือปฏิบัติเพื่อการแก้ไขปัญหาโดยใช้กระบวนการที่มีประสิทธิภาพมากกว่า งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
The SECI Model Knowledge Creation Spiral งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ขั้นตอนดำเนินการ • จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการในองค์กรแบบราชการ • คณะกรรมการคัดเลือกองค์ความรู้ • แต่งตั้งคณะกรรมการตามแบบฟอร์ม KM Team ตามประเด็นองค์ความรู้ • KM Team จัดทำแผนตามองค์ความรู้ 8 ขั้นตอน • KM Team สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม