610 likes | 1.17k Views
Pediatric CPR. ค่าปกติของความดัน systolic ในเด็ก 1- 10 ปี : 90 + ( อายุเด็กเป็นปี * 2 ) mmHg ค่าต่ำสุดที่ยอมรับได้ของความดัน systolic ในเด็ก 1- 10 ปี : 70 + ( อายุเด็กเป็นปี * 2 ) mmHg. ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพในเด็ก. A : Airway B : Breathing C : Circulation
E N D
ค่าปกติของความดัน systolic ในเด็ก 1- 10 ปี : 90 + ( อายุเด็กเป็นปี * 2 ) mmHg ค่าต่ำสุดที่ยอมรับได้ของความดัน systolic ในเด็ก 1- 10 ปี : 70 + ( อายุเด็กเป็นปี * 2 ) mmHg
ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพในเด็กขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพในเด็ก
A : Airway B : Breathing C : Circulation D : Drug
Endotrachial tube Size * uncuff : Age(yr) + 4 4 * cuff : Age(yr) + 3 4 Depth: Age(yr) + 12 or 2 3xsize ETT
Circulation • การจับชีพจร • Carotid pulse • Brachial pulse • Femoral pulse
Two Thumbs Technique • Two Fingers Technique • One Hand Technique • Two Hands Technique
การช่วยนวดหัวใจ • Two-thumb technic • ทำโดยโอบรอบหน้าอกไว้ในอุ้งมือทั้งสองแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือทั้ง 2 ข้างกดบนกระดูก sternum • ส่วนครึ่งล่าง ต่ำกว่า transnipple line 1 ซ.ม. • ส่วนนิ้วที่เหลือของทั้ง 2 มือ • รับน้ำหนักทางด้านหลังของทารก
Two-fingers technic • ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมือหนึ่ง กดที่ • ส่วนครึ่งล่างของ sternum ต่ำกว่า transnipple line • 1ซ.ม. และ ใช้อีกมือหนึ่งรองที่แผ่นหลังของทารก • โดยกดลงไปประมาณ1.5-2ซม.และ • นิ้วที่กดควรสัมผัสหน้าอกทารกไว้ • ตลอดเวลา
Route Peripheral line : ควรใช้ NSS 5 ml push ตามหลังให้ยา Intraosseous : สามารถให้ยาทุกชนิดที่ให้ทาง IV ได้ Tracheal : ควรเจือจางยาให้ได้ 3-5 มล. หรือใช้ NSS 3-5 มล. ไล่ตาม แล้วบีบ Bag 5 ครั้งหลังให้ยา
ยาที่ใช้บ่อยในการช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็กยาที่ใช้บ่อยในการช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็ก
ยาที่ใช้บ่อยในการช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็กยาที่ใช้บ่อยในการช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็ก
ยาที่ใช้บ่อยในการช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็กยาที่ใช้บ่อยในการช่วยฟื้นคืนชีพในทารกและเด็ก
ขนาดและความลึกของท่อหลอดลมคอขนาดและความลึกของท่อหลอดลมคอ น้ำหนัก (กรัม) ขนาด (มม.) ความลึกวัดจากริมฝีปากบน (ซม.) 1000 2.5 7 2000 3 8 3000 3.5 9 4000 3.5-4 9-10 * ความลึก = 6 + น.น.เป็น ก.ก. **ทารกที่น้ำหนักน้อยกว่า 750 กรัม อาจใส่ท่อลึกเพียง 6 ซ.ม.ก็เพียงพอ
ขั้นตอนการแก้ไขช่วยฟื้นชีวิตขั้นตอนการแก้ไขช่วยฟื้นชีวิต
การเตรียมตัวก่อนทารกคลอดการเตรียมตัวก่อนทารกคลอด 1. ประวัติมารดา 2. ประวัติทารก 3. ความพร้อมของบุคลากรและเครื่องมือ 4. สติสัมปชัญญะ
**ประเมินทารกทันทีที่เกิด ** • การหายใจ • อัตราการเต้นของหัวใจ • สีผิว
Positive pressure ventilation ( PPV ) 1. ใช้ face mask ขนาดที่เหมาะสม คลอบบริเวณปากและจมูก ของทารก และ seal ให้แน่นไม่ให้ มีลมรั่วเวลาบีบ ambu bag 2. บีบ ambu bag ด้วยแรงพอที่จะทำให้หน้าอกยกเล็กน้อย 3. อัตราเร็วในการบีบ 40 ครั้งต่อนาที 4. ทำ PPV นาน 30 วินาทีแล้วประเมินทารกซ้ำ
PPV อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการเต้นของหัวใจ < 60 ครั้ง/นาที > 60 ครั้ง/นาที
** ประเมินทารกทุก 30 วินาที ** • พิจารณาใส่ท่อหลอดลม • ถ้าจำเป็นต้องช่วยหายใจต่อเป็นเวลานาน
ขนาดของยาในการแก้ไขทารกขนาดของยาในการแก้ไขทารก Epinephrine (1:10,000) 0.1-0.3 มล./กก. ET หรือ IV Naloxone (0.4 มก./มล.) 0.1 มก./กก. ET, IV, IM NaHCO3 (1 mEq/มล.) 1-2 mEq/กก. IV
- กรณีที่มีประวัติน้ำคร่ำมีขี้เทาปน ให้ดูดเสมหะจาก • ปากและจมูกเมื่อคลอดศีรษะแล้ว ก่อนที่จะคลอด • ไหล่และหน้าอก • - เมื่อทารกคลอดทั้งตัวควรใส่ท่อหลอดลมคอ • เพื่อดูดเสมหะและขี้เทาออกจากหลอดลมให้มาก • ที่สุดก่อนที่ทารกจะหายใจครั้งแรก ควรดูดจาก • ท่อหลอดลมคอโดยตรงผ่าน meconium aspirator • - ถ้าดูดได้ขี้เทาจากหลอดลม ควรใส่ท่อหลอดลมคอซ้ำ • เพื่อดูดออกให้หมดอย่างไรก็ตาม ควรดูสภาพของ • ทารกไม่ให้มีการขาดออกซิเจนนานเกิน • ความจำเป็น หรืออาจต้องยอมให้สำลักบ้างเล็กน้อย
Meconium-stained amniotic fluid ถ้าทารกมีลักษณะดังนี้ 1. หายใจดี ร้องเสียงดัง 2. Heart rate > 100 / min 3. Muscle tone ดี ***ไม่ต้องใส่ ET tube suction***
Noninitiation of resuscitation in 1.Confirmed GA < 23 weeks 2.Birth weight < 400 gm. 3. Anencephaly 4. Confirmed trisomy 13 or 18
Discontinuation of resuscitative efforts may be appropriate if resuscitation of an infant with cardiorespiratory arrest does not result in spontaneous circulation in 10 minutes.
ทารก เด็กเล็ก เด็กโต อายุ < 1 ปี 1-8 ปี > 8 ปี การช่วยหายใจ 40 15-20 15-20 การนวดหัวใจ ตำแหน่ง Below nipple lower 1/2 lower 1/2 line 1 cm. Sternum Sternum วิธีนวด Two thumbs Two thumbs One hand Two fingers Two fingers Two hands One hand
ทารก เด็กเล็ก เด็กโต การนวดหัวใจ ความลึก 1/3-1/2 ของความหนาของหน้าอก อัตราการนวด 90 80 – 100 80 – 10 วิธีนับ 1 และ2 และ 3 1 และ2 และ 3 และ 4 และ 5 และ RR:CC 1:3 1:5 1:5 ตำแหน่งคลำ P Brachial/Femoral Carotid Carotid
ภาวะสำลักสิ่งแปลกปลอมภาวะสำลักสิ่งแปลกปลอม
การสำลักสิ่งแปลกปลอม • เป็นอุบัติเหตุที่พบบ่อยในเด็ก • พบบ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี • อายุน้อยสุดที่มีรายงานคือ 1 วัน • สิ่งที่สำลัก ถั่ว เมล็ดผลไม้ เศษอาหาร กระดูกไก่ ชิ้นส่วนของเล่น ยางลบ
การอุดตันบางส่วน มีการสำลัก choking มีอาการขย้อน มีอาการไออย่างรุนแรง ส่งเสียงได้ อกบุ๋มขณะหายใจเข้า สีผิวแดง ชมพู รู้สึกตัวดี Peripheral perfusionดี การอุดตันอย่างสมบูรณ์ มีการสำลัก อาการขย้อน พูดไม่ได้ ร้องไม่มีเสียง สีผิว เขียว ม่วง ซึม หมดสติ Peripheral perfusion ไม่ดี การวินิจฉัยการสำลักสิ่งแปลกปลอม
การช่วยเหลือเมื่อสำลักสิ่งแปลกปลอมอย่างสมบูรณ์การช่วยเหลือเมื่อสำลักสิ่งแปลกปลอมอย่างสมบูรณ์ • Five back blows and chest thrusts • Heimlich maneuver • Stop blind finger sweep • A-B-C • tongue-jaw lift • Head -tilt,chin-lift • bronchoscope
Backblows-Chest thrusts • พาดหน้าขา นอนคว่ำ ห้อยหัว 60 องศา • สันมือตบที่หลังระหว่างกระดูกสะบัก 2 ข้าง 5 ครั้ง • จับเด็กนอนหงายใช้มือกดหน้าอก 5 ครั้ง • เปิดปาก jaw thrusts technique • หยิบสิ่งของออกจากปากถ้ามองเห็น • คนไข้ไม่หายใจ ให้ทำการช่วยหายใจ • เริ่มรอบใหม่ระหว่างรอการช่วยเหลือต่อไป
Heimlich maneuver • ใช้ในเด็กโตหรือผู้ใหญ่ • อาจให้เด็กนอนหรือคนช่วยอุ้มอยู่ทางด้านหลัง • วางมือที่หน้าท้องตรงกึ่งกลางระหว่างสะดือและลิ้นปี่ • ใช้มือกดและดันขึ้นโดยเร็ว 6-10 ครั้งทำให้กระบังลมถูกดันขึ้นบนทำให้ความดันในช่องอกเพิ่มขึ้น ช่วยดันให้วัตถุแปลกปลอมออกไป • เปิดปากเด็กเพื่อมองหาวัตถุ • ถ้ายังไม่หายใจให้ใช้mouth to mouth, mouth to nose แล้วเริ่มต้นทำใหม่