540 likes | 1.36k Views
การพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์การเกษตร เพื่อเข้าสู่ สมาร์ท ฟาร์ม เมอร์ (Smart Farmer). ส่วนวิจัยเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 14 สิงหาคม 2557. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา. นโยบายชาติ. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสถาบันเกษตรกร.
E N D
การพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรการพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์การเกษตร เพื่อเข้าสู่สมาร์ทฟาร์มเมอร์(Smart Farmer) ส่วนวิจัยเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 14 สิงหาคม 2557
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา นโยบายชาติ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสถาบันเกษตรกร พัฒนาองค์กรเกษตรกรให้เข้มแข็ง มีบทบาทในการพัฒนาห่วงโซ่การผลิต (ผลิต แปรรูป จำหน่าย) 2555 ประกาศสหกรณ์เป็นวาระแห่งชาติ แผนฯ 11 ยุทธศาสตร์พัฒนาชีวิตเกษตรกรสู่ Smart Farmer ให้เกษตรกรมีความสามารถในการผลิต การตลาด ก้าวสู่ผู้จัดการฟาร์มมืออาชีพ (Smart Farmer) เวทีโลก 2555 สหประชาชาติประกาศให้เป็นปีสากลว่าด้วยสหกรณ์ ? มีจำนวนน้อยที่สามารถแปรรูป คัดเกรด หรือพัฒนาบรรจุภัณฑ์ หรือมีตราสินค้าเป็นของสหกรณ์ฯเอง เป็นเพียงผู้รับซื้อและจำหน่ายสินค้าโดยไม่ได้สร้างมูลค่าเพิ่ม
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์การเกษตร และสนับสนุนให้เกษตรกรพัฒนาสู่สมาร์ทฟาร์มเมอร์ (Smart Farmer)
ขอบเขตการศึกษา • ศึกษาเฉพาะสหกรณ์การเกษตรที่มีการดำเนินงานรวบรวมผลผลิตสินค้าเกษตร ในทุกภูมิภาคของประเทศ ยกเว้นสหกรณ์การเกษตรเพื่อตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.และชุมนุมสหกรณ์ • ศึกษาการพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์การเกษตร เฉพาะในส่วนของการดำเนินกิจกรรมด้านการรวบรวมผลผลิตการแปรรูป การคัดเกรด การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และการตลาด เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าเกษตร และศึกษาโดยใช้ข้อมูลทางสถิติที่เกี่ยวกับผลการดำเนินงาน งบดุล งบกำไรขาดทุนปี 2556
วิธีการศึกษา • แบบสอบถามส่งทางไปรษณีย์ • จาก 1,267 แห่ง (ตาราง R.V.Krejcie & D.W.Morgan) = 291 แห่ง • ปัญหาทางการเมือง + ปิดบัญชีประจำปี = 269 แห่ง • (< เป้าหมาย 7.5% คิดเป็น 21.4%) แผน: จริง: • สัมภาษณ์ผู้บริหาร/ผู้จัดการสหกรณ์ พร้อมศึกษาดูงานการผลิต 43 แห่ง ร้อยละ 15 ของ 291 แห่ง • จัดสัมมนาระดมความคิดเห็นภายใต้การวิจัยแบบมีส่วนร่วม 3 ครั้ง 300 คน (อุทัยธานี สุรินทร์ อุตรดิตถ์) • การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ • การวิเคราะห์เชิงปริมาณ • การทดสอบt-test ANOVA • วิธีการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ • (Logistic Regression) • Open-ended questions • Key informants interview • Group discussion ร้อยละ
การตรวจเอกสาร • สุพจน์ วัฒนวิเชียร และคณะ (2552) “การพัฒนาการดำเนินงานของสหกรณ์การเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย” • SuwannaThavachote (2006) “agricultural cooperatives in Thailand: innovations and opportunities in the 21st century” • Damardjati D.S. (2004) “cooperative model development of agribusiness in Indonesia” • Daman Prakash (2003) “development of agricultural cooperatives-relevance of Japanese experiences to developing countries” • สมจิตต์ ศิขรินมาศ และมณิสร อนันต๊ะ (2554) “ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของสถาบันเกษตรกร” • ประสพชัย พสุนนท์ และพิทักษ์ ศิริวงศ์ (2556) “ประสิทธิภาพและกุญแจแห่งความสำเร็จในการดำเนินการสหกรณ์การเกษตร: การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก” • สมคิด แก้วทิพย์ และกฤษดา ภักดี (2556) “การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของสหกรณ์การเกษตรในภาคเหนือตอนบน” • Abdulquadri A.F. and Mohammed B.T. (2012) “the role of agricultural cooperatives in agricultural mechanization in Nigeria” • Bouckova B. (2002) “agricultural co-operatives: perspectives for the 21st century” • Elena Garnevska, Gouzhong Liu and Nicola Mary Shadbolt(2011) “factors for successful development of farmer cooperatives in Northwest China”
แนวคิดและทฤษฏี แนวคิดวิธีการและหลักการสหกรณ์ คุณสมบัติตัวบ่งชี้: 1. มีความรู้ในเรื่องที่ทำอยู่ 2. มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ 3. มีการบริหารจัดการผลผลิตและการตลาด 4. มีความตระหนักถึงคุณภาพสินค้า/ความปลอดภัยของผู้บริโภค 5. มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม/สังคม 6. มีความภูมิใจในความเป็นเกษตรกร แนวคิดการพัฒนาธุรกิจการเกษตร แนวคิดการพัฒนาเกษตรกรสู่เกษตรกรปราดเปรื่องหรือสมาร์ทฟาร์มเมอร์ (smart farmer) แนวคิดการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ (Logistic Regression)
ข้อเท็จจริง สหกรณ์การเกษตร 7 ประเภท “สหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ในหมู่ผู้มีอาชีพทางการเกษตร โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้สมาชิกดำเนินกิจการร่วมกันและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อแก้ไข ความเดือดร้อนในการประกอบอาชีพของสมาชิก และช่วยยกฐานะความเป็นอยู่ของสมาชิกให้ดีขึ้น” ภาคเกษตร ประมง • การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง • การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย • การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก • การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ • การศึกษา ฝึกอบรมและสารสนเทศ • การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ • การเอื้ออาทรต่อชุมชน หลักการ นิคม การเกษตร • ธุรกิจสินเชื่อ • ธุรกิจรับฝากเงิน • ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ปุ๋ย ยา เครื่องจักร น้ำมัน • ธุรกิจรวบรวมผลิตผลการเกษตรและแปรรูปจำหน่าย • ธุรกิจให้บริการ ธุรกิจ นอกเกษตร ออมทรัพย์ • สหกรณ์ฯทั่วไป อยู่ในความอนุเคราะห์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ • สหกรณ์ฯในเขตพัฒนา ในเขต รพช. ของสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท_กรป.กลาง ของกองบัญชาการทหารสูงสุด_ในเขตนิคม ของกรมประชาสงเคราะห์ • สหกรณ์ฯปฏิรูปพิเศษ จัดตั้งขึ้นตามกลุ่มอาชีพโดยเฉพาะ เช่น กลุ่มผู้ผลิต ผู้ปลูก ร้านค้า ประเภท บริการ เครดิตยูเนี่ยน
ข้อเท็จจริง จำนวนสหกรณ์ในประเทศไทย ที่มา: กรมส่งเสริมสหกรณ์ (www.cpd.go.th) ในทางปฏิบัติได้มีการแยกหน่วยงานภาครัฐซึ่งกำกับดูแลเป็นพี่เลี้ยงตามภารกิจของแต่ละหน่วยงาน: • สหกรณ์การเกษตรเพื่อตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ธ.ก.ส. เน้นสนับสนุนสินเชื่อ • สหกรณ์กองทุนสวนยาง สกย. เน้นสนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ์ โรงรม ตลาด • สหกรณ์โคนม อ.ส.ค. อุปกรณ์ จัดสรรโควตาน้ำนมดิบ
ข้อเท็จจริง จำนวนสหกรณ์การเกษตรที่มีการรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร จำแนกรายสินค้า ที่มา: กรมส่งเสริมสหกรณ์ (www.cpd.go.th) ไม่รวมชุมนุมสหกรณ์และสหกรณ์การเกษตรเพื่อตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.
ข้อเท็จจริง นโยบายและการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสหกรณ์การเกษตรของประเทศไทย ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ และแผนกลยุทธ์ส่งเสริมสหกรณ์
ข้อเท็จจริง นโยบายและการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสหกรณ์การเกษตรของประเทศไทย ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ และแผนกลยุทธ์ส่งเสริมสหกรณ์
ข้อเท็จจริง นโยบายและการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสหกรณ์การเกษตรของประเทศไทย ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ และแผนกลยุทธ์ส่งเสริมสหกรณ์
ข้อเท็จจริง ข้อมูลทั่วไปของสหกรณ์การเกษตรกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ศึกษา ที่มา: จากการสำรวจ
ข้อเท็จจริง จำนวนสหกรณ์การเกษตรกลุ่มตัวอย่างที่มีการรวบรวมผลผลิตจำแนกรายสินค้า ที่มา: จากการสำรวจ
ผลการศึกษา การดำเนินธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์การเกษตรกลุ่มตัวอย่าง ที่มา: จากผลการศึกษา
ผลการศึกษา ความแตกต่างของสหกรณ์การเกษตรที่ประสบความสำเร็จ และไม่ประสบความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจสินค้าเกษตร ***P<0.001 **P<0.01 *P<0.05 ที่มา: จากผลการศึกษา
ผลการศึกษา ประเภทธุรกิจที่ทำกำไรให้แก่สหกรณ์การเกษตร ที่มา: จากผลการศึกษา
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์การเกษตรโดยวิธีวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์การเกษตรโดยวิธีวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ (Logistic Regression Analysis) ผลการศึกษา • ตัวแปรตาม(Dependent variable: Y) • เป็นตัวแปรเชิงกลุ่ม (categorical variable) มีค่าเป็น 2 ค่า คือ 0 กับ 1 • 1. มีการรวบรวมผลผลิตสินค้าเกษตร • 2. มีการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรที่รวบรวมโดยการคัดเกรด พัฒนาบรรจุภัณฑ์ หรือแปรรูป • 3. มีตลาดจำหน่ายสินค้าที่มั่นคงแน่นอน • 4. มีการดำเนินงานติดต่อกันอย่างน้อย 3 ปี (2554-2556) • ตัวแปรอิสระ(Independent variable: X) • ทั้งตัวแปรผลกระทบแบบเชิงกลุ่ม (nominal variables) และตัวแปรชนิดต่อเนื่อง (continuous variables) ประกอบด้วย ตัวแปรด้านองค์กรและบุคลการ ด้านทุนและการเงินด้านวัตถุดิบและวัสดุอุปกรณ์ด้านการบริหารจัดการ ด้านการตลาด และด้านสมาชิกจำนวน 39 ตัวแปร
ผลการศึกษา ตัวแปรอิสระ(Independent variable: X)
ผลการศึกษา ตัวแปรอิสระ(Independent variable: X)นำเข้าสู่โมเดล ตัวแปรอิสระ (X) 39 ตัวแปร มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับตัวแปรตาม (Y)17ตัวแปร
ผลการศึกษา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร ตรวจสอบปัญหาตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์กัน (multicollinearity) **P<0.01; *P<0.05
ผลการศึกษา รูปแบบสมการ Y = ln(odds ratio) = lnp(event) = b0 + b1x1 +b2x2 + …, + bpxp 1-p(event) โดยที่ Y= ตัวแปรตาม (dependent variable) มีค่าเป็น 0 เมื่อสหกรณ์การเกษตรเป็นสหกรณ์ฯที่ไม่สามารถพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรได้อย่างสำเร็จ มีค่าเป็น 1 เมื่อสหกรณ์การเกษตรเป็นสหกรณ์ฯที่สามารถพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรได้อย่างสำเร็จ b0 = ค่าคงที่ (constant) b1-p = ค่าพารามิเตอร์สัมประสิทธิ์ถดถอยของตัวพยากรณ์ที่ 1 ถึง p x1-p = ตัวแปรอิสระ/ตัวพยากรณ์ (independent variables: X) ที่ 1 ถึง p (1-17)
ผลการศึกษา ผลการวิเคราะห์
ผลการศึกษา ผลการวิเคราะห์ ***P<0.001 ** P<0.01 *P<0.05 ที่มา: จากผลการศึกษา
ผลการศึกษา ความเห็นของสหกรณ์การเกษตรต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตร: • ปัจจัยที่ทำให้สหกรณ์การเกษตรสามารถดำเนินธุรกิจสินค้าเกษตรได้สำเร็จ ที่มา: จากผลการศึกษา
ผลการศึกษา ความเห็นของสหกรณ์การเกษตรต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตร: • ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์การเกษตร ที่มา: จากผลการศึกษา
ผลการศึกษา ความเห็นของสหกรณ์การเกษตรต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตร: • ประโยชน์ที่สหกรณ์การเกษตรให้แก่เกษตรกรสมาชิก ที่มา: จากผลการศึกษา
ผลการศึกษา ความเห็นของสหกรณ์การเกษตรต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตร: • สิ่งที่เกษตรกรสมาชิกควรปฏิบัติในการดำเนินธุรกิจร่วมกับสหกรณ์ฯ ที่มา: จากผลการศึกษา
ผลการศึกษา ความเห็นของสหกรณ์การเกษตรต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตร: • สิ่งที่หน่วยงานภาครัฐควรปฏิบัติหรือให้การสนับสนุน ที่มา: จากผลการศึกษา
ผลการศึกษา ความเห็นของเกษตรกรสมาชิกต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์ฯจากการสัมมนากลุ่มย่อย: • ปัจจัยที่ทำให้เกษตรกรสมาชิกทำธุรกิจร่วมกับสหกรณ์ฯได้อย่างสำเร็จ • 1. สินค้าของเกษตรกรสมาชิกมีมาตรฐาน ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพปลอดสารพิษได้ เช่น ข้าว GAPสร้างความเชื่อถือต่อตลาดได้ • 2. เกษตรกรสมาชิกให้ความร่วมมือดี เชื่อมั่นในสหกรณ์ นำสินค้ามาขายให้กับสหกรณ์ เนื่องจากมีความไว้วางใจในตราชั่ง รับซื้อในราคาที่สูงกว่าตลาด มีตลาดรองรับที่แน่นอน มีเงินปันผล มีสวัสดิการที่ดี เช่น เปิดบัญชีแรกเกิด ทุนการศึกษา เงินช่วยเหลือ เป็นต้น 3. พื้นที่เอื้ออำนวยต่อการทำการเกษตร เช่น ดินดี มีน้ำเพียงพอ สามารถเข้าร่วมโครงการกับสหกรณ์การเกษตร และผลิตสินค้าเกษตรได้สม่ำเสมอตามที่สหกรณ์ต้องการ 4. ได้รับการสนับสนุนจากสหกรณ์ด้านเงินทุน จัดอบรมให้ความรู้ จัดหาอุปกรณ์และปัจจัยการผลิตให้ เช่น เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ยา รวมถึง มีเจ้าหน้าของสหกรณ์ฯติดตามการผลิตอย่างต่อเนื่อง 5. สหกรณ์มีการวางแผนการผลิตร่วมกับเกษตรกรสมาชิก มีการจัดตั้งกลุ่ม และมีประธานกลุ่มเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกกับสหกรณ์ มีเครือข่ายสมาชิก ทำให้บริหารจัดการการผลิตได้ดี
ผลการศึกษา • ความเห็นของเกษตรกรสมาชิกต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์ฯจากการสัมมนากลุ่มย่อย: • ปัญหาอุปสรรคของเกษตรกรสมาชิกในการทำธุรกิจร่วมกับสหกรณ์ฯ 1. ผลิตสินค้าไม่ได้มาตรฐานตามที่สหกรณ์สหกรณ์กำหนด เนื่องจากขาดความรู้ ขาดความเอาใจใส่ดูแลพื้นที่เกษตร 2. เกษตรกรสมาชิกไม่สามารถเข้าร่วมโครงการผลิตสินค้าคุณภาพร่วมกับสหกรณ์ได้ เช่น ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการผลิตข้าว GAP เนื่องจากพื้นที่ไม่เอื้ออำนวย 3. ไม่สามารถผลิตสินค้าให้สหกรณ์ได้อย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากภัยธรรมชาติ น้ำท่วม 4. เกษตรกรสมาชิกยังมีหนี้สิน เน้นผลิตสินค้าให้ได้จำนวนมาก ไม่คำนึงถึงคุณภาพ และขายให้พ่อค้าตามที่สะดวก 5. ราคาไม่จูงใจ เนื่องจากที่ผ่านมามีโครงการรับจำนำข้าว ทำให้เกษตรกรสมาชิกเน้นผลิตข้าวให้ได้จำนวนมาก 6. ระบบการตรวจสอบมีความล่าช้า เช่น การเข้ารวมโครงการผลิตข้าว GAP ที่ได้ใบรับรองช้า 7. มีข้อจำกัดในการผลิต เช่น การกำหนดจำนวนพื้นที่ในการเข้าร่วมโครงการปลูกข้าวGAP 8. ขาดพาหนะในการนำผลผลิตมาจำหน่ายให้สหกรณ์ ไม่เหมือนพ่อค้าที่ไปรับซื้อถึงบ้าน 9. ในพื้นที่มีพ่อค้าจำนวนมาก มีจุดรับซื้อ มีโรงงานของเอกชน ทำให้มีที่จำหน่ายสินค้าจำนวนมาก 10. เกษตรกรสมาชิกเปลี่ยนการผลิตสินค้า
ความเห็นของเกษตรกรสมาชิกต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์ฯจากการสัมมนากลุ่มย่อย:ความเห็นของเกษตรกรสมาชิกต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์ฯจากการสัมมนากลุ่มย่อย: • ประโยชน์ที่เกษตรกรสมาชิกได้รับจากการทำธุรกิจร่วมกับสหกรณ์ฯ ผลการศึกษา 1. มีเงินปันผล มีสวัสดิการต่างๆ เช่น รักษาพยาบาล 2. ได้เงินเฉลี่ยคืนกำไรจากการนำสินค้าเกษตรมาขายให้สหกรณ์การเกษตร 3. ได้รับความเป็นธรรมในเรื่องการชั่ง ตวง วัด 4. ได้รับเงินค่าสินค้าเร็ว 5. มีแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ำและปัจจัยการผลิต 6. ได้รับราคาที่เป็นธรรม 7. ได้รับความรู้ในการผลิตที่มีคุณภาพ 8. ได้รับประโยชน์เพิ่มเติมจากการเข้าร่วมโครงการของสหกรณ์ เช่น ได้เครดิตซื้อปัจจัยการผลิต 9. เข้าร่วมโครงการผลิตสินค้าคุณภาพ จะได้รับราคาที่สูงกว่าตลาด 10. เกษตรกรรายย่อยที่มีผลผลิตน้อย นำมาขายให้สหกรณ์ฯสะดวกกว่า ได้ผลตอบแทนดีกว่า
ผลการศึกษา • ความเห็นของเกษตรกรสมาชิกต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์ฯจากการสัมมนากลุ่มย่อย: • สิ่งที่สหกรณ์ฯและหน่วยงานภาครัฐควรให้การสนับสนุน 1. สนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรสมาชิกในการผลิตสินค้าอย่างจริงจัง 2. มีการประกันราคาสินค้าคุณภาพ เช่น ข้าวอินทรีย์ มีการทำสัญญาระหว่างสหกรณ์ฯกับเกษตรกรสมาชิกและมีเจ้าหน้าที่มาให้ความรู้ในการผลิตอย่างจริงจัง 3. สนับสนุนให้มีการลดต้นทุนการผลิต มีการจัดทำแปลงสาธิต จัดศูนย์เรียนรู้ มีเจ้าหน้าที่มาอบรมให้ความรู้ในการผลิต 4. จัดหางบประมาณทางการเกษตร เงินทุน สินเชื่ออัตราดอกเบี้ยต่ำ ผ่านทางสหกรณ์ฯ ให้เพียงพอ 5. มีการส่งเสริมการผลิตอย่างครบวงจร ตั้งแต่การผลิต การเก็บเกี่ยว การตลาด รวมถึง พัฒนาระบบชลประทาน 6. ควบคุมคุณภาพและราคาปัจจัยการผลิต เช่น น้ำมัน ปุ๋ย ยา 7. จัดหาตลาดรองรับทั้งสินค้าเกษตรหลัก และสินค้าเกษตรที่เป็นรายได้เสริม และการปลูกพืชหลังนา 8. ภาครัฐควรจัดกลุ่มผู้ผลิต (Zoning)เช่นกลุ่มผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ และให้ความรู้และปัจจัยต่างๆ
ผลการศึกษา การพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์การเกษตรที่สนับสนุนให้เกษตรกรสมาชิกพัฒนาสู่สมาร์ทฟาร์มเมอร์(Smart Farmer) ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เชื่อมโยง เชื่อมโยง เกษตรกรสมาชิก (M5: Member) สหกรณ์การเกษตร ตลาด/คู่ค้า ตลาด/ลูกค้า (M6: Marketing) Smart Farmer 1. มีความรู้ในการประกอบอาชีพ บุคลากร (M1: Man) 2. มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ เงินทุน (M2: Money) 3. บริหารจัดการการผลิต ตลาด หน่วยงานภาครัฐ วัตถุดิบ/เครื่องมือ (M3: Materials) 4. ผลิตสินค้าคุณภาพ ปลอดภัย การจัดการ (M4: Management) 5. คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม 6. ภูมิใจในความเป็นเกษตรกร ที่มา: จากผลการศึกษา
ธุรกิจเมล็ดพันธุ์ข้าวธุรกิจเมล็ดพันธุ์ข้าว ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เชื่อมโยง เชื่อมโยง เกษตรกรสมาชิก สหกรณ์การเกษตร ตลาด/คู่ค้า 1 ก่อน 2 2 ก่อน 1 ผ่าน ไม่ผ่าน 1. สหกรณ์ฯรับซื้อหมด 2. เกษตรกรต้องขายเอง • 2 • 1 ผ่าน ไม่ผ่าน ที่มา: จากผลการศึกษา
ธุรกิจข้าวสาร/ข้าวคุณภาพธุรกิจข้าวสาร/ข้าวคุณภาพ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เชื่อมโยง เชื่อมโยง เกษตรกรสมาชิก สหกรณ์การเกษตร ตลาด/คู่ค้า รวบรวมข้าวเปลือก • 1 ข้าวเปลือกจากสมาชิก และเกษตรกรทั่วไป • 2 ข้าวคุณภาพจากสมาชิก ที่มา: จากผลการศึกษา
ธุรกิจน้ำนมดิบ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เชื่อมโยง เชื่อมโยง เกษตรกรสมาชิก สหกรณ์การเกษตร ตลาด/คู่ค้า • 1 • 2 • 3 ที่มา: จากผลการศึกษา
สรุป ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 2. สหกรณ์ฯต้องมีความพร้อมด้านเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และเทคโน โลยีที่ทันสมัย 1. ภาครัฐให้การสนับสนุนการดำเนินงานของสหกรณ์ด้านการแปรรูป เงินทุน อุปกรณ์ อบรมให้ความรู้ พัฒนาทักษะเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ด้านการผลิต แปรรูป ตลาด 3. สหกรณ์ฯต้องผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ได้รับการรับรองมาตรฐาน 4. จัดหาและสร้างเครือข่ายการตลาด ให้มีตลาดรองรับสินค้าสหกรณ์ฯ ที่มั่นคง แน่นอน
สรุป ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 6 ด้าน หรือ 6M เชื่อมโยง กลางน้ำ : สหกรณ์ฯ เชื่อมโยง ปลายน้ำ : ตลาด/คู่ค้า ต้นน้ำ : เกษตรกรสมาชิก 1. บุคลากรและคณะกรรมการบริหาร (Man & Member of Committee) การตัดสินใจของผู้บริหารและผู้นำองค์กร ความรู้ความชำนาญ ทักษะในการดำเนินงานของบุคลากร 2. เงินทุนและการสนับสนุนทางการเงิน (Moneyof Investment &Money Support) มีความพร้อมด้านเงินทุน เงินทุนจ่ายขาด หรือเงินกู้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำ บริหารจัดการวัตถุดิบให้มีเพียงพอต่อการผลิตหรือการแปรรูปสม่ำเสมอ มีเครื่องมือเครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีลานตากหรือสต๊อกเพียงพอ มีเทคโนโลยีการผลิตที่ช่วยในการพัฒนาให้สินค้ามีคุณภาพมาตรฐาน 3. วัตถุดิบ เครื่องมือเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ (Material& Machine) 4. การบริหารจัดการและวิธีการดำเนินงาน (Management & Method) นโยบายวิสัยทัศน์องค์การที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตร มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะต้องมีการวางแผนที่ดี วางแผนการดำเนินงานร่วมกับเกษตรกรสมาชิก บริหารจัดการให้มีต้นทุนการผลิตต่ำ 5. การตลาดและการสร้างเครือข่ายการตลาด (Marketing & Marketing Network) มีตลาดรองรับสินค้า มีเครือข่ายการตลาด ทั้งในส่วนของเครือข่ายสหกรณ์ฯด้วยกันและภาคเอกชน 6. การมีส่วนร่วมและการสร้างความตระหนักในการเป็นเจ้าของร่วมกันของเกษตรกรสมาชิก (Member Participation& Member Awareness) สมาชิกให้ความร่วมมือและมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรมต่างๆร่วมกับสหกรณ์ฯ เชื่อมั่น ศรัทธาและมีจิตสำนึกในความเป็นเจ้าของ
ข้อเสนอแนะ • การดำเนินงานส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรสมาชิก • 1) อบรมถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตร • 2) สนับสนุนให้ผลิตสินค้าคุณภาพมาตรฐาน พัฒนาฟาร์มมาตรฐาน สนับสนุนในการออกใบรับรองคุณภาพมาตรฐาน • การดำเนินงานส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์การเกษตร • 1) สนับสนุนเงินทุน เงินทุนดอกเบี้ยต่ำ เครื่องจักรอุปกรณ์ที่ตรงตามความต้องการ ความสามารถ และศักยภาพ ให้สหกรณ์ฯได้เข้าถึงการสนับสนุนอย่างเท่าเทียมกัน • 2) จัดอบรมให้ความรู้ทั้งด้านการแปรรูป การใช้เครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ์ และการตลาด • 3) สนับสนุนให้มีการผลิตสินค้าคุณภาพมาตรฐาน ปลอดภัย สินค้าที่มีมูลค่าสูง รวมถึง สร้างตราสัญลักษณ์สินค้าของสหกรณ์ฯ เพื่อพัฒนาสินค้าเกษตรสู่ตลาดที่มีมูลค่าสูงและตลาดส่งออก • การดำเนินงานด้านการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการตลาด • ให้มีหน่วยงานภาครัฐในการดำเนินงานด้านการตลาดสินค้าสหกรณ์ทั้งระบบ ตั้งแต่สนับสนุนการผลิต การจัดหาตลาด การสร้างเครือข่าย และการดำเนินงานด้านโลจิสติกส์สินค้า รวมถึง การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สินค้าสหกรณ์ • การดำเนินงานด้านกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง • กำหนดกฎ ระเบียบ ให้เอื้อต่อการพัฒนาธุรกิจสินค้าเกษตรของสหกรณ์การเกษตร และกำหนดมาตรการเพื่อปกป้องการดำเนินงานที่มีผลกระทบต่อสหกรณ์การเกษตร รวมถึง มีผลกระทบต่อภาคการเกษตรของประเทศ