340 likes | 570 Views
ตลาดทุนไทยหลัง CG-ROSC: ทิศทางในอนาคต. ชาลี จันทนยิ่งยง กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ 26 ตุลาคม 2548. ครอบคลุม 4 เรื่อง. 1. ผลการประเมิน 2. เจาะลึก CG ไทยกับประเทศอื่นในภูมิภาคเอเซีย 3. ข้อเสนอของ WB ในหัวข้อที่ไทยได้คะแนนไม่ดี 4. ทิศทาง CG ไทยในอนาคต.
E N D
ตลาดทุนไทยหลัง CG-ROSC: ทิศทางในอนาคต ชาลี จันทนยิ่งยง กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ 26 ตุลาคม 2548
ครอบคลุม 4 เรื่อง 1. ผลการประเมิน 2. เจาะลึก CG ไทยกับประเทศอื่นในภูมิภาคเอเซีย 3. ข้อเสนอของ WB ในหัวข้อที่ไทยได้คะแนนไม่ดี 4. ทิศทาง CG ไทยในอนาคต
หลักเกณฑ์การประเมินผลหลักเกณฑ์การประเมินผล • ใช้ OECD Principles 6 หมวด 32 ข้อย่อย I.Overall Corporate Governance Framework 4 ข้อย่อย หลักการ: ควรมีระบบกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายที่มีประสิทธิภาพ II.Shareholders’ Rights 7 ข้อย่อย หลักการ: ผู้ถือหุ้นควรได้รับการคุ้มครองและอำนวยความสะดวกตามความเหมาะสม III.ShareholdersTreatment 3 ข้อย่อย หลักการ: ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มควรได้รับการดูแลอย่างเท่าเทียมกัน และหากถูกละเมิดสิทธิก็ควรได้รับการเยียวยา ความเสียหายอย่างเหมาะสมด้วย IV.Role of Stakeholders 6 ข้อย่อย หลักการ: บริษัทควรให้ความเคารพต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ เช่น คู่ค้า พนักงาน หรือเจ้าหนี้ V. Disclosure and Transparency 6 ข้อย่อย หลักการ: บริษัทควรเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา VI.Responsibilities of the board 6 ข้อย่อย หลักการ: คณะกรรมการบริษัทต้องมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น และต้องดูแลบริษัทให้ดำเนินงาน อย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายของผลการประเมินแต่ละระดับความหมายของผลการประเมินแต่ละระดับ ผลการประเมิน : มี 5 ระดับ 3 กลุ่ม • O=Observed (มีหลักเกณฑ์ตรงกับสากล และปฏิบัติตามครบถ้วน) • LO=LargelyObserved (มีหลักเกณฑ์ตรงกับสากล การปฏิบัติขาดเพียงเรื่องเล็กน้อย) • PO=Partially Observed (มีหลักเกณฑ์ตรงกับสากล การปฏิบัติบางเรื่องยังไม่จริงจัง) • MNO=Materially Not Observed (หลักเกณฑ์ยังไม่ตรงกับสากล หรือตรงแต่ไม่เชื่อว่า จะปฏิบัติได้) • NO=Not Observed (ไม่มีความคืบหน้าเท่าที่ควร)
ผลการประเมิน - เปรียบเทียบในภูมิภาคเอเซีย
2. เจาะลึก CG ไทยกับประเทศอื่นในภูมิภาคเอเซีย
แนวทางการวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวทางการวิเคราะห์เปรียบเทียบ • Focus เฉพาะ • เรื่องที่ไทยได้คะแนนต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย หรือต่ำกว่าประเทศอื่นในภูมิภาค • รูปแบบการวิเคราะห์ • ปรับผลประเมินเป็นตัวเลข เพื่อประโยชน์ในการเปรียบเทียบ ดังนี้ • O = 100% • LO = 75% • PO = 50% • MNO = 25% • NO = 0%
ผลการประเมิน (ต่อ)ภาพรวม - เปรียบเทียบในภูมิภาคเอเซีย หมายเหตุ: ประเทศในภูมิภาคเอเซียที่เคยทำ CG-ROSCs มี 6 ประเทศ แต่นำข้อมูลมาเปรียบเทียบกับประเทศไทยเพียง 4 ประเทศ เนื่องจากเป็นประเทศที่ได้รับการประเมิน CG-ROSCs ในช่วงปี 2544-2547
ผลการประเมิน (ต่อ)ราย Principle- เปรียบเทียบในภูมิภาคเอเซีย I II IV V VI III CG Framework* Roles of Stakeholders Rights of Shareholders EquitableTreatment of Shareholders Disclosure and Transparency Responsibilities of the Board หมายเหตุ : * ไม่มีข้อมูลของประเทศอื่น เนื่องจากในการประเมินได้เพิ่มหมวดนี้เข้ามาปลายปี 2547 หลังจากที่ประเมินประเทศทั้งสี่แล้ว
ข้อที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษหมวด II. Rights of shareholders
ข้อที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษหมวด III. Equitable treatment of shareholders
ข้อที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษหมวด VDisclosure and Transparency
ข้อที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษหมวด VI. Responsibilities of the Board
3. ข้อเสนอของ WB ในหัวข้อที่ไทยได้คะแนนไม่ดี
IIA. Basic Shareholders rights OECD Principle: ผู้ถือหุ้นควรมีสิทธิพื้นฐานในเรื่องต่าง ๆ อย่างเพียงพอ
IIB.Rights to participate in fundamental decisions OECD Principle: ผู้ถือหุ้นควรมีสิทธิในการมีส่วนร่วม และได้รับข้อมูลภายในเวลาที่เหมาะสม
IIC. Shareholders AGM rights OECD Principle: ผู้ถือหุ้นควรมีสิทธิที่จะเข้าร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนน
IIE. Market for corporate control OECD Principle: ควรมีกลไกตลาดที่ทำให้มีการบริหารงานเป็นไปอย่างระมัดระวัง
IIIA. All shareholders should be treated equally OECD Principle: ผู้ถือหุ้นกลุ่มเดียวกันควรได้รับการดูแลและการเยียวยาอย่างเท่าเทียมกัน
VB. Accounting standards OECD Principle: ควรมีการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล
VE. Fair&timely dissemination OECD Principle: ควรมีช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลให้ผู้ลงทุนได้รับอย่างเท่าเทียมกันด้วยต้นทุนไม่แพงนัก
VIC. Board should have high ethical standards OECD Principle: คณะกรรมการควรมีจรรยาบรรณในการทำหน้าที่ เพื่อประโยชน์ของบริษัท
VID. Board should fulfill certain key function OECD Principle: คณะกรรมการควรปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องสำคัญได้ครบถ้วน และมีกรรมการชุดย่อย
VIF. Access to information OECD Principle: คณะกรรมการควรมีช่องทางเข้าถึงข้อมูล เพื่อให้ทำหน้าที่ได้อย่างเต็มที่
ทิศทางในอนาคต • ผลักดันให้ตลาดทุนไทยมีภาพลักษณ์ด้าน CG ในระดับที่แข่งขันได้ • ไม่จำเป็นต้องทำตามมาตรฐานครบทุกเรื่อง • คำนึงถึง cost/benefit และภาระของบริษัทขนาดเล็ก • มีมาตรการจูงใจสำหรับบริษัทที่ CG ดี • ปรับปรุงกระบวนการ enforcement ตลอดทั้งสาย • เร่งรัดกระบวนการแก้ไขกฎหมาย • กระตุ้นให้บริษัทตระหนักถึงความสำคัญของการมี CG ที่ดี • ผู้ถือหุ้น/ผู้ลงทุนช่วยกันติดตามดูแล CG ของบริษัท
ตัวอย่างแนวทางดำเนินการขององค์กรต่าง ๆ ในตลาดทุน • สำนักงาน ก.ล.ต. • มีมาตรการจูงใจคนทำดี และติดตาม/เข้มงวดกับคนทำไม่ดี • ให้ความสำคัญกับเรื่องระบบการควบคุมภายในของบริษัทจดทะเบียน • ตลาดหลักทรัพย์ฯ • ออกแนวปฏิบัติในเรื่อง • การประชุมผู้ถือหุ้น เช่น การแจ้งวันประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้าข้อมูลขั้นต่ำในหนังสือนัดประชุม เป็นต้น • จัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เช่น remuneration committee และ nominating committee เป็นต้น • ศึกษาแนวทางการนำระบบ voting policy มาใช้กับการประชุมผู้ถือหุ้น • สภาวิชาชีพบัญชี • ผลักดันให้มาตรฐานการบัญชีไทยเป็นไปตาม IFRS ภายในปี 2549 • กำหนดกรอบการกำกับดูแลผู้รับผิดชอบสูงสุดด้านบัญชีของบริษัทให้เข้มงวด
ตัวอย่างแนวทางดำเนินการขององค์กรต่าง ๆ ในตลาดทุน (ต่อ) • สมาคมบริษัทจดทะเบียน • สนับสนุนให้สมาชิกใน SET100 • มี website ของบริษัทเพื่อเผยแพร่ข้อมูล • จัดตั้ง remuneration committee และ nominating committee • กระตุ้นให้สมาชิกให้ความสำคัญกับการมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ • สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย • เป็นแกนนำในการรับมอบฉันทะจากผู้ลงทุนรายย่อย • ประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้น • ชมรมผู้ลงทุนสถาบัน • ออก voting policy guideline เพื่อให้สมาชิกใช้เป็นแนวทาง • กระตุ้นให้สมาชิกเปิดเผย voting record ไว้ใน website บริษัท • สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย: จัดอบรมกรรมการ/ผู้บริหารบริษัทให้ตระหนักถึงการมี CG ที่ดี อย่างต่อเนื่อง
การผลักดัน CG ต้องทำพร้อมกันทั้ง 3 ด้าน R - Regulatory Disciplines CG M - Market Disciplines S - Self Disciplines
โจทย์ที่ต้องคำนึงถึง • position ของตลาดทุนไทยใน international market • มาตรการจูงใจ หรือมาตรการบังคับ • costs v.s. benefits / big firms v.s. small firms • บทบาทของผู้ลงทุนทั้งสถาบันและรายย่อย
CG Watch Transparency Int’l • Singapore • Hong Kong • Taiwan • Malaysia • Korea • Thailand • China • India • Philippines • Indonesia ’47 • Singapore • Hong Kong • India • Malaysia • Korea • Taiwan • Thailand • Philippines • China • Indonesia ’48 • Singapore • Hong Kong • India • Malaysia • Taiwan • Korea/ Thailand • Philippines • China • Indonesia Country Rankings