250 likes | 496 Views
การพัฒนา Private Cloud รูปแบบบริการ IaaS ถึง SaaS สำหรับอีเลิร์นนิง. ผศ . ดร . ประณต บุญไชยอภิสิทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 5-6 สิงหาคม 2556 pranotba@yahoo.com. เนื้อหา. แบบจำลองของพอร์ตเตอร์ อีเลิร์นนิง Cloud Computing ระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย สรุป.
E N D
การพัฒนา Private Cloud รูปแบบบริการ IaaS ถึง SaaS สำหรับอีเลิร์นนิง ผศ.ดร. ประณต บุญไชยอภิสิทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 5-6 สิงหาคม 2556 pranotba@yahoo.com
เนื้อหา • แบบจำลองของพอร์ตเตอร์ • อีเลิร์นนิง • CloudComputing • ระเบียบวิธีวิจัย • ผลการวิจัย • สรุป
Porter, M. The Five Competitive Forcesthat Shape Strategy. Harvard BusinessReview, January 2008, ผู้ประกอบการสถาบันการศึกษารายใหม่ จำนวนนักศึกษาที่ลดลง การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ผู้ศึกษาที่มีทางเลือกในการศึกษามากขึ้น การแข่งขันของสถาบันการศึกษาที่มีอยู่แล้ว
อีเลิร์นนิง • สถาบันการศึกษาตอบสนองต่อปัจจัยดังกล่าวข้างต้นโดยการใช้เทคโนโลยีไอซีทีเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน • อีเลิร์นนิง คือ การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสารในการศึกษา • องค์ประกอบเนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอน • องค์ประกอบระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน • องค์ประกอบการสื่อสาร • องค์ประกอบที่อำนวยความสะดวกในการประเมินผู้เรียน
ทำไมต้อง CloudComputing • ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขององค์กร โดยมีลักษณะเด่น (http://www.gartner.com/ technology/topics/ cloud-computing.jsp) • มีการทำงานเชิงการให้บริการ • สนับสนุนการปรับขนาดและความยืดหยุ่นของการให้บริการตามความต้องการของผู้ใช้งาน • มีการใช้ทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกัน • มีการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต
CloudComputing • การส่งมอบการประมวลผลและการจัดเก็บในรูปแบบของการให้บริการไปยังชุมชนของผู้รับปลายทางที่มีความหลากหลาย (http://en.wikipedia.org/wiki/Cloud_computing) • IaaS ผู้ใช้บริการมีอิสระในการติดตั้งระบบปฏิบัติการ การพัฒนาและควบคุมโปรแกรมประยุกต์ และ การบริหารจัดการเครือข่าย • PaaS ผู้ใช้บริการมีอิสระในการพัฒนาและควบคุมโปรแกรมประยุกต์ • SaaS ผู้ใช้บริการสามารถใช้งานได้เฉพาะโปรแกรมประยุกต์ที่ผู้ให้บริการติดตั้งให้เท่านั้น
CloudComputing • รูปแบบการติดตั้งใช้งาน Cloud (http://www.gartner.com/ technology/topics/ cloud-computing.jsp) • Private cloud โครงสร้างพื้นฐานของระบบ Cloud รองรับเฉพาะการดำเนินการขององค์กรนั้นๆเท่านั้น องค์กรอาจบริหารจัดการระบบ Cloud เองหรือให้ผู้อื่นบริหารจัดการแทน • Public cloud ผู้ให้บริการ Cloud เป็นเจ้าของโครงสร้างพื้นฐานระบบ Cloud และ เปิดให้องค์กรต่างๆสามารถใช้บริการระบบ Cloud ในเชิงบริการสาธารณะ • Hybrid cloud เป็นการผสมผสานระหว่าง Private cloud และ Public cloud
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • Mona Nasr และ Shimaa Ouf (2011) นำเสนอระบบนิเวศอีเลิร์นนิงที่ทำงานบน Cloud computing • Youry Khmelevsky และ Volodymyr Voytenko (2010) นำเสนอต้นแบบโครงสร้างพื้นฐานของ Cloud computing สำหรับรองรับการศึกษาและการวิจัยในมหาวิทยาลัย • Bo Dong et al. (2009) นำเสนอระบบนิเวศอีเลิร์นนิงที่ทำงานบน Cloud computing • Lizhe Wang et al. (2011) นำเสนอรูปแบบการออกแบบ โครงสร้างพื้นฐาน และ มิดเดิ้ลแวร์ ของระบบ Cloud computing สำหรับแอพพลิเคชั่นทางวิทยาศาสตร์
ระเบียบวิธีวิจัย • การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา Cloudcomputing สำหรับอีเลิร์นนิง ประกอบด้วยขั้นตอน • การกำหนดรูปแบบการให้บริการ • การกำหนดรูปแบบการติดตั้งใช้งาน • การวิเคราะห์และออกแบบระบบ Cloud computing • การติดตั้งและทดสอบระบบต้นแบบ Cloud computing • การติดตั้งและทดสอบอีเลิร์นนิงที่ทำงานบนระบบต้นแบบ Cloud computing
รูปแบบการให้บริการและรูปแบบการติดตั้งใช้งานรูปแบบการให้บริการและรูปแบบการติดตั้งใช้งาน • รูปแบบการให้บริการและรูปแบบการติดตั้งใช้งาน ศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พิจารณาความเป็นไปได้ของสถาบันการศึกษาที่จะเป็นทั้งผู้ให้บริการและผู้ใช้ บริการระบบ Cloud และ การถ่ายทอดเทคโนโลยี CloudComputing • ระบบต้นแบบที่พัฒนาจะต้องสนับสนุนรูปแบบการให้บริการ IaaS, PaaS และ SaaS และ มีรูปแบบการติดตั้งใช้งานแบบ Private cloud
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ Cloud Computing • แผนผังยูสเคสระบบต้นแบบ Cloud computing สำหรับรูปแบบการให้บริการ IaaS ประกอบด้วย • ยูสเคสติดตั้งและควบคุมการให้บริการ Compute Cloud และ Storage • ยูสเคสให้บริการสร้าง ลบ และ แสดง Images และ Instances • ยูสเคสให้บริการสร้าง ควบคุม และ ใช้งาน Application และ Data • โดยมี Actor คือ IaaS Consumer และ IaaS Provider
คลาสของระบบต้นแบบ Cloud Computing
กระบวนการจัดการ Compute Cloud และ Storage
การติดตั้งและทดสอบระบบต้นแบบ Cloud Computing • ระบบต้นแบบ Cloud computing ประกอบด้วย • เครื่องเซิร์ฟเวอร์ 1 เครื่อง ติดตั้งระบบปฏิบัติการอูบุนตูเซิร์ฟเวอร์ ubuntu-10.04.4-server-i386.iso ทำหน้าที่เป็น Cloud Controller, Cluster Controller, Walrus storage service/controller และ Storage Controller • เครื่องเซิร์ฟเวอร์ 2 เครื่อง ติดตั้งระบบปฏิบัติการอูบุนตูเซิร์ฟเวอร์ ubuntu-10.04.4-server-i386.iso ทำหน้าที่เป็น Node Controller • เครื่อง Client 1 เครื่องติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการอูบุนตูเดสก์ท็อป ubuntu-10.04.4-desktop-i386.iso
การติดตั้งและทดสอบระบบต้นแบบ Cloud Computing • โดยมีคุณสมบัติ คือ • หน่วยประมวลผลกลางความเร็ว 3.0 GHz รองรับ Virtual technology (VT extensions) • หน่วยความจำหลักขนาด 4 GB ฮาร์ดดิสก์ความจุ 300 GB • เครื่องอ่านเขียน DVD/CD • จอภาพขนาด 19 นิ้ว • Network interface สำหรับ Ethernet LAN 100BaseTX เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และ Ethernet LAN 100BaseTX
องค์ประกอบซอฟต์แวร์ของ ระบบต้นแบบ Cloud Computing
ทดสอบการสร้าง Instance จาก Image และ ตรวจสอบสถานะของ Instance
การติดตั้งและทดสอบอีเลิร์นนิงที่ทำงานบนระบบต้นแบบ Cloud Computing • Images ของอีเลิร์นนิงบน Virtual machine ของระบบต้นแบบ Cloud computing ประกอบด้วย องค์ประกอบซอฟต์แวร์ • Guest Operating System(ubuntu-10.04.4-server-i386.iso) • Apache 2 web server • MySQL 5.1.3 • Moodle 2.3.3 • PHP 5
การเพิ่มรายวิชา Operating Systems
สรุป • การวิจัยนี้ครอบคลุมประเด็นสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบ Cloud computing ทั้ง 3 รูปแบบการให้บริการ และ การพัฒนาอีเลิร์นนิงที่ทำงานบนระบบ Cloud computing • กรอบงานสำหรับการพัฒนาระบบ กระบวนการ และ แบบจำลอง จากการวิจัยนี้ สามารถนำไปใช้พัฒนาระบบ Cloud computing ที่มีขนาดใหญ่มากขึ้น และ พัฒนาระบบต้นแบบอื่นๆที่ทำงานบนระบบต้นแบบ Cloud computing
เอกสารอ้างอิง • Dong, B. et al. (2009). An E-learning Ecosystem Based on Cloud Computing Infrastructure. NinthIEEE International Conference on Advanced Learning Technologies, July 15- 17 2009, Riga, Latvia. • Khmelevsky, Y., Voytenko, V. (2010). Cloud Computing Infrastructure Prototype for University Education and Research. Proceedings of the 15th Western Canadian Conference on Computing Education, May 7- 8 2010, Kelowna, Canada. • Nasr, M. and Ouf, S. (2011). An Ecosystem in e- Learning Using Cloud Computing as platform and Web 2.0. International Journal of ACM Jordan, Vol. 2 Issue. 4, 2011. • Wang, L. et al. (2011).Towards Building a Cloud for Scientific Applications. Advances in Engineering Software 42 (2011). Elsevier Ltd.