150 likes | 357 Views
บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย หรือ บสท. (Thai Asset Management Corporation–TAMC ). วัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง. เพื่อบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบันการเงินและบริษัทบริหารสินทรัพย์ไทย.
E N D
บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย หรือ บสท.(Thai Asset Management Corporation–TAMC) วัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง • เพื่อบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบันการเงินและบริษัทบริหารสินทรัพย์ไทย
ปรับโครงสร้างหนี้และปรับโครงสร้างกิจการ โดยการรับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ของสถาบันการเงินและบริษัทบริหารสินทรัพย์ไทย รวมทั้งสิทธิอื่นใดเหนือทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันการชำระหนี้สำหรับสินทรัพย์ด้อยคุณภาพนั้น หรือ โดยการใช้มาตรการอื่นๆ เพื่อประโยชน์แก่ การฟื้นฟูเศรษฐกิจหรือความมั่นคงของประเทศ
ความเป็นมา • หลังปี 2540 ประเทศไทยประสบปัญหา • เศรษฐกิจอย่างรุนแรง • มีการเปลี่ยนระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่เป็น • ระบบอัตราลอยตัว • ธุรกิจได้รับผลกระทบอย่างหนัก • สถาบันการเงินเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ
ธุรกิจขาดสภาพคล่อง ส่งผลให้สินเชื่อ • เหล่านี้กลายเป็น สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิด • รายได้ ( NON- Performing Loan – NPL )
1 มีนาคม 2544กระทรวงการคลังได้ • แต่งตั้ง "คณะทำงานเพื่อการจัดตั้ง • สำนักงานบริหารสินทรัพย์กลาง" • มีนายทนง พิทยะ เป็นประธาน และมีผู้แทน • จากภาครัฐและเอกชน เข้าร่วมเพื่อพิจารณา • ศึกษาแนวทางการจัดตั้งองค์กรดังกล่าว
หลังจากที่ประชุมร่วมกันเสนอให้ตั้งองค์กร หลังจากที่ประชุมร่วมกันเสนอให้ตั้งองค์กร • ดังกล่าวว่า "บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย" • หรือ บสท. (Thai Asset Management • Corporation - TAMC) • เป็นองค์กรของรัฐที่ไม่ใช่รัฐวิสาหกิจ ภายใต้ • กฎหมายพิเศษ เพื่อแก้ปัญหาสินทรัพย์ด้อย • คุณภาพ ของสถาบันการเงินของรัฐและ • เอกชน ให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว
ให้ลูกหนี้ ซึ่งรับโอนมาอยู่ในสถานะ ที่ • สามารถดำเนินกิจการต่อไปได้ รวมทั้ง • สร้างเสถียรภาพให้ระบบสถาบันการเงิน
นโยบายในการดำเนินงาน • บริหารสินทรัพย์ให้ได้รับมูลค่าเพิ่มขึ้นมาก • ที่สุด (Maximize Recoveries) • ลดความเสียหายของประเทศและผู้เสีย • ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด (Minimize State and • Taxpayers' Loss) • ฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้เพื่อให้สามารถ • ดำเนินกิจการต่อไปได้
อำนาจ บสท. • ถือกรรมสิทธิ์/มีสิทธิ์ครอบครองทรัพย์สิน • กู้หรือยืมเงิน • ออกหุ้นกู้ ตั๋วเงิน • ให้กู้ยืมเงิน • ฯลฯ
ลูกหนี้ของ สถาบัน การเงิน สถาบัน การเงิน ลูกหนี้ ที่มีปัญหา NPLs ลูกหนี้ ที่ดี
หนี้ที่มีปัญหา ของสถาบัน การเงิน NPLs TAMC โอนให้ การแบ่งผลกำไรขาดทุน -ผลขาดทุน 20 % แรกของมูล ค่าตามบัญชีสถาบันการเงินรับไป -ผลขาดทุน 20 % ต่อมา TAMC ร่วมรับด้วยครึ่งหนึ่ง มูลหนี้ประมาณ 1.1 ล้านล้านบาท
หนี้ที่มีปัญหา ของสถาบัน การเงิน NPLs • จำหน่าย • พัฒนา • หาผู้ร่วมทุน • บริหารให้เกิดผลประโยชน์ • ปรับโครงสร้าง โอนให้ TAMC