890 likes | 2.85k Views
Nutritional Management in COPD ( อาหารสำหรับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ). ผศ . พญ . รพีพร โรจน์แสงเรือง ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. COPD. แบ่งเป็น 2 ชนิด หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic Bronchitis) ถุงลมปอดโป่งพอง (Emphysema). Emphysema หรือ Pink Puffers.
E N D
Nutritional Management in COPD(อาหารสำหรับโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ) ผศ.พญ.รพีพร โรจน์แสงเรือง ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
COPD แบ่งเป็น2ชนิด • หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic Bronchitis) • ถุงลมปอดโป่งพอง (Emphysema)
Emphysema หรือ Pink Puffers • หอบเหนื่อยเนื่องจากถุงลมถูกทำลายจนทำให้หายใจออกได้ไม่ดี • ผอม เนื่องจากต้องใช้พลังงานไปในการหายใจค่อนข้างมาก
Chronic Bronchitisหรือ Blue Bloaters • มักมาด้วยอาการไอมีเสมหะมากและหอบเหนื่อยเนื่องจากหลอดลมเกิดการอักเสบจนทำให้หลอดลมตีบแคบ • มีน้ำหนักปกติหรืออ้วน • อาจมีบวมน้ำ(edema) • ในระยะท้ายมักมีน้ำหนักตัวลดลง
ผู้ป่วยสามารถเพิ่มการใช้พลังงานในขณะพัก ( Resting Energy Expenditure ,REE)ขึ้นไปอีก10-15% เมื่อมีอาการหอบเหนื่อย • พลังงานทั้งหมดที่ต้องการต่อวัน (แคลอรี) TEE = REE + AEE • แต่ถ้าผู้ป่วยไม่ชดเชยพลังงานทดแทนให้เพียงพอโดยการกินอาหารเพิ่มขึ้น ก็จะทำให้น้ำหนักลด
Body Composition • fat mass + fat free mass (lean body mass) • BW(kg) = Fat (kg) + FFM (kg) • FFM = Protein + H2O + Bone mineral + Glycogen
COPD & ร่างกาย • COPD & น้ำหนักตัว • COPD & Body Composition • COPD & Ventilation • COPD & Bone • COPD & Appetite
COPD & น้ำหนักตัว • COPD ที่มีน้ำหนักลดลงพบได้ถึง40-70% ทั้งนี้เพราะผู้ป่วยต้องการพลังงานมากขึ้นเพื่อช่วยหายใจ • ได้รับพลังงานไม่เพียงพอกับที่ใช้ไปก็ทำให้ร่างกายต้องสลายไขมันและกล้ามเนื้อของร่างกายออกมาเป็นพลังงาน จึงทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงและน้ำหนักตัวลดลง
การมีกล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรงก็ย่อมทำให้หายใจหอบเหนื่อยขึ้น • เมื่อหอบเหนื่อยก็ยิ่งทำให้เบื่ออาหาร • จนในที่สุดวงจรนี้ก็ทำให้น้ำหนักตัวลดลงไปเรื่อยๆ
Emphysema มักผอมและน้ำหนักลดลงเรื่อยๆ • Chronic Bronchitis มักอ้วนหรือน้ำหนักปกติแต่เมื่อเข้าสู่ระยะท้ายของโรคก็มักมีน้ำหนักลดลง • ถ้าผู้ป่วยอ้วนก็ยิ่งต้องใช้พลังงานมากขึ้นในการหายใจ
COPD &Body composition • FFM ลดลง ทำให้ออกแรงลำบาก • FFMที่ลดลง คือ ผู้ชาย - BMI< 16 กก/มม 2 ผู้หญิง - BMI < 15 กก/มม 2
Chronic Bronchitis • มี FFMลดลง + fat mass เพิ่มขึ้น • ทำให้น้ำหนักลดลงไม่มากหรือไม่มีน้ำหนักลดลงเลย • เพราะมีไขมันเพิ่มนั่นเอง
Emphysema • มี BMI ,FFM และ fat mass ต่ำกว่าchronic bronchitis
COPD &Ventilation • ระบบการหายใจในทารก พบว่าเมื่อให้อดอาหารนาน10วันจะไม่มีการตอบสนองต่อhypoxic drive • หลังจากกลับมาให้อาหาร5วันก็พบว่าการตอบสนองต่อhypoxic driveกลับมาเป็นปกติ • ดังนั้นภาวะขาดอาหารทำให้emphysemaมีการตอบสนองต่อhypoxic driveแย่ลงจนอาจเกิดการหายใจล้มเหลวได้
COPD & Bone • ผู้ป่วยมักได้รับสเตียรอยด์รักษาซึ่งทำให้เกิดกระดูกพรุนได้ และกระดูกหักง่าย • จากการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสารCHESTในเดือนกุมภาพันธ์ คศ.2002พบว่า 36-60%ของผู้ป่วยโรคCOPDจะมีภาวะกระดูกพรุน
สาเหตุกระดูกพรุน • สูบบุหรี่ • ขาดวิตามินดี • ขาดสารอาหาร • BMIต่ำ • การไม่ออกแรง
COPD & Appetite • มีอาการเบื่ออาหาร-เสี่ยงต่อการเกิดน้ำหนักลดและทุพโภชนาการ • ภาวะทุพโภชนาการ คือได้รับอาหารที่ให้พลังงาน โปรตีนและสารอาหารมากหรือน้อยเกินไปจนมีผลกระทบต่อร่างกาย
ภาวะทุพโภชนาการ • ทำให้ปอดทำงานไม่ดี • ร่างกายง่ายต่อการติดเชื้อ • ออกแรงแล้วเหนื่อยง่าย • ทำให้มีอัตราตายและพิการสูง
สาเหตุที่COPD มักขาดอาหาร • เหนื่อยมากจนกลืนหรือเคี้ยวไม่ไหว • การหายใจทางปากบ่อยๆก็ทำให้ • มีเสมหะมากในลำคอ • ไอบ่อย • อ่อนแรง อ่อนเพลีย • ปวดศีรษะตอนเช้าหรือสับสนเนื่องจากมี คาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือด( hypercapnia ) • เบื่ออาหาร ลิ้นรู้รสไม่ดี • ซึมเศร้า • ผลข้างเคียงของยา
การรักษาด้วยอาหารก็เพื่อให้พลังงานชดเชยการรักษาด้วยอาหารก็เพื่อให้พลังงานชดเชย • จะไม่มีน้ำหนักลดลง • ไม่สูญเสีย fat free mass • ป้องกันภาวะขาดสารอาหาร • ปอดทำงานดีขึ้น
ผู้ป่วยโรคCOPDมักมีโรคอื่นร่วมด้วยผู้ป่วยโรคCOPDมักมีโรคอื่นร่วมด้วย • โรคหัวใจขาดเลือด • หัวใจวาย • กระดูกพรุน • ซีด • มะเร็งปอด • ซึมเศร้า • เบาหวาน • ต้อกระจก ซึ่งต้องตัดสินใจมากขึ้นในการปรับอาหารให้เหมาะสม
ผู้ป่วยโรคCOPDควรกินอาหารเพื่อผู้ป่วยโรคCOPDควรกินอาหารเพื่อ • ให้มีน้ำหนักคงที่ • ให้กล้ามเนื้อหายใจทำงานได้ดี • เสริมภูมิคุ้มกันเพื่อต่อต้านกับเชื้อโรค
Respiratory Quotient (RQ) • การให้อาหารได้เหมาะสมจะช่วยลดระดับแกสคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดและการหายใจดีขึ้น ซึ่งrespiratory quotient (RQ) = ปริมาณแกสคาร์บอนไดออกไซด์ที่ผลิตขึ้น/ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ไป • คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน จะถูกเผาผลาญเพื่อให้เกิดพลังงาน พร้อมทั้งได้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำออกมา
Respiratory Quotient (RQ) RQแตกต่างกันไปในอาหารแต่ละประเภท • RQของคาร์โบไฮเดรต =1 • RQของโปรตีน=0.8 • RQของไขมัน=0.7
การกินอาหารที่มีไขมันสูงและคาร์โบไฮเดรตต่ำจะลดRQการกินอาหารที่มีไขมันสูงและคาร์โบไฮเดรตต่ำจะลดRQ • นั่นคือ ลดการผลิตแกสคาร์บอนไดออกไซด์ ในผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่มักหอบเหนื่อยหรือมีระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงภายหลังจากทานอาหารที่มีสัดส่วนของคาร์โบไฮเดรตสูงก็ควรเปลี่ยนเป็นกินอาหารที่มีสัดส่วนของไขมันสูงแทนผู้ป่วยที่มักหอบเหนื่อยหรือมีระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงภายหลังจากทานอาหารที่มีสัดส่วนของคาร์โบไฮเดรตสูงก็ควรเปลี่ยนเป็นกินอาหารที่มีสัดส่วนของไขมันสูงแทน