460 likes | 645 Views
Selected Topics in IT (Java). Week1 : Introduction to Java language. Introduction to Java language. รู้จักกับภาษาจาวา เตรียมตัวก่อนเริ่มเขียนโปรแกรม เริ่มเขียนโปรแกรมจาวา. รู้จักกับภาษาจาวา. รู้จักกับภาษา Java. Java เกิดขึ้นได้อย่างไร
E N D
Selected Topics in IT (Java) Week1 : Introduction to Java language
Introduction to Java language • รู้จักกับภาษาจาวา • เตรียมตัวก่อนเริ่มเขียนโปรแกรม • เริ่มเขียนโปรแกรมจาวา
รู้จักกับภาษา Java • Java เกิดขึ้นได้อย่างไร • ภาษา Java นั้นได้รับการพัฒนามาจากบริษัท Sun Microsystems ซึ่งเป็นบริษัทคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก โดยถือกำเนิดภายใต้โครงการ Green Project ในปี 1996 ซึ่งมีหัวหน้าทีมพัฒนาที่ชื่อว่า James Gosling ซึ่งโปรแกรมเมอร์ Java ทั่วโลกยกย่องว่าเป็น บิดาของ Java
รู้จักกับภาษา Java (ต่อ) “Write Once Run Anywhere” • เหตุใดจึงนิยมเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Java • ภาษา Java นั้นมีปรัชญาการสร้างมาจากการที่ต้องการทำให้เราเขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียว แต่สามารถนำไปใช้งานได้ในอุปกรณ์ชนิดต่างๆ ไม่จำกัดว่าต้องเป็นเพียงแค่คอมพิวเตอร์อย่างเดียว
รู้จักกับภาษา Java (ต่อ) • การทำงานของโปรแกรมภาษา Java • เราเขียนโปรแกรมของภาษา Java เราจะได้ Source Codeซึ่งเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น .java จากนั้นเรานำ Source Code ไปคอมไฟล์ให้กลายเป็นเป็นJava Byte Code(จะเก็บอยู่ในไฟล์ .class) • เวลาที่ทำงานจริงในคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ใดๆ ก็ตาม Java Byte Code จะถูกคอมไพล์อีกครั้งให้เป็นภาษาเครื่องเฉพาะคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์นั้นๆ เข้าใจ การคอมไพล์ครั้งนี้จะใช้Java Virtual Machineคอมไพล์ และรัน
Java Virtual Machine Java Byte Code เราเขียน (Source Code)
Source Code Java Virtual Machine
รู้จักกับภาษา Java (ต่อ) • รูปแบบการเขียนโปรแกรมในภาษา Java • Java SE : ย่อมาจาก Java Standard Edition เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมสำหรับการทำงานบนคอมพิวเตอร์ทั่วไป ถือว่าเป็นรูปแบบแรกของภาษา Java • Java EE : ย่อมาจาก Java Enterprise Edition เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมกับระบบงานขนาดใหญ่ • Java ME : ย่อมาจาก Java Micro Edition เป็นรูปแบบการเขียนโปรแกรมกับอุปกรณ์ขนาดเล็ก (คือมีหน่วยความจำน้อย) เช่น โทรศัพท์มือถือ, เซ็ตท็อปบ็อกซ์ เป็นต้น
สาระสำคัญ สำหรับส่วนนี้เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับภาษา Java ซึ่งเป็นภาษาเขียนโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาภายใต้แนวคิด Write Once Run Anywhereทำให้เราเขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียว แต่สามารถนำไปรัน หรือใช้งานบนคอมพิวเตอร์ (หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์) แบบต่างๆ ได้อย่างสะดวก โดย Java ได้รับการพัฒนาให้มีความาสามารถหลายหลาย รองรับการทำงานในรูปแบบต่างๆ และปัจจุบันก็มีโปรแกรมเมอร์มากมายทั่วโลกศึกษา และติดตามอย่างใกล้ชิด
เตรียมตัวก่อนเริ่มเขียนโปรแกรมเตรียมตัวก่อนเริ่มเขียนโปรแกรม
เตรียมตัวก่อนเขียนโปรแกรมเตรียมตัวก่อนเขียนโปรแกรม
เตรียมตัวก่อนเขียนโปรแกรม (ต่อ) • ตรวจสอบความพร้อมของระบบ • ระบบปฏิบัติการ : มีได้ทั้ง Windows 98, XP, Vista, Linux, Unix, Solaris • แรม และพื้นที่ว่างในฮาร์ดดิสก์ : สำหรับแรมควรมีขนาดขั้นต่ำตามที่ระบบปฏิบัติการได้กำหนดไว้ ส่วนพื้นที่ว่างฮาร์ดดิสก์ก่อนติดตั้ง JDK และ eclipse ไม่ควรต่ำกว่า 500 MB
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK 1. สามารถติดตั้ง JDK โดยดาวน์โหลดจากเว็บไซต์http://java.sun.com/javase/downloads/index.jsp
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK (ต่อ) 2 . เมื่อดาวน์โหลดเสร็จให้ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอนของไฟล์ที่ดาวน์โหลดไว้
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK (ต่อ) อ่านข้อกำหนดแล้วคลิกปุ่ม คลิกที่ปุ่ม
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK (ต่อ)
ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK (ต่อ) รอสักครู่ ชุดติดตั้งจะสอบถามให้ติดตั้งองค์ประกอบเพิ่มเติมคลิก สุดท้ายก็คลิก
ปรับแต่ง และทดสอบหลังติดตั้ง • เลือก Start > Programs > Accessories > Command Prompt • ที่หน้าจอ Command Prompt ให้ป้อนคำสั่งjava –version เพื่อเป็นการแสดงเวอร์ชันของ JDK ที่เราเพิ่งติดตั้งไป
ปรับแต่ง และทดสอบหลังติดตั้ง (ต่อ) กำหนด PATH เพื่อเรียกใช้โปรแกรมต่างๆ ใน JDK • คลิกขวาที่ My Computer แล้วเลือก Properties • คลิกที่แท็บ Advanced แล้วคลิกปุ่ม
ปรับแต่ง และทดสอบหลังติดตั้ง (ต่อ) ในกรอบ System variables คลิกเลือกตัวแปรระบบPath ในรายการ คลิกปุ่ม พิมพ์ต่อท้ายค่าที่ปรากฏในช่อง Variable Value ด้วยข้อความ ;C:\Program Files\Java\jdk1.6.0_13\bin แล้วคลิกปุ่ม
การกำหนดค่าตัวแปร CLASSPATH ให้คลิกปุ่ม จะปรากฏหน้าต่าง New System Variable ขึ้นมา ให้เราตั้งชื่อตัวแปรระบบ และกำหนดค่าของตัวแปรนั้น แล้วคลิกที่ปุ่ม
การกำหนดค่าตัวแปร CLASSPATH (ต่อ) จะเห็นว่ามีตัวแปรระบบ CLASSPATH สร้างขึ้นมาใหม่ จากนั้นคลิกปุ่ม
การดาวน์โหลด และติดตั้งโปรแกรม Eclipse • สามารถติดตั้งโปรแกรม Eclipse ได้โดยเข้าไปที่ www.eclipse.org/downloads/
การดาวน์โหลด และติดตั้งโปรแกรม Eclipse (ต่อ) 2. แตกไฟล์ Zip แล้วเข้าใช้งานโปรแกรมได้เลย
สาระสำคัญ สำหรับสวนนี้เราได้เรียนรู้สิ่งจำเป็น และการเตรียมตัวเพื่อเขียนโปรแกรมกับภาษา Java โดยได้แนะนำให้รู้จักกับเครื่องมือชนิดต่างๆ รวมถึง JDK ที่เป็นเสมือนหัวใจของการเขียนโปรแกรมในภาษา Java เราได้ติดตั้ง JDK เวอร์ชันล่าสุด คือ Java SE 6.0 ซึ่งอาจจะเปลี่ยนแปลงเวอร์ชันอื่นๆ ได้ แต่เชื่อว่าสำหรับการเขียนโปรแกรมระดับเบื้องต้นจะสามารถใช้เวอร์ชัน 6.0 ได้เป็นต้นไปโดยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงใดๆ
สาระสำคัญ (ต่อ) • หลังจากติดตั้ง JDK เรียบร้อยแล้วเราจึงเริ่มติดตั้งเครื่องมือช่วยเขียนโปรแกรมคือ eclipse ซึ่งอำนวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม, การคอมไพล์ และการรัน ได้มากกว่ารูปแบบเดิมๆ ที่เคยใช้คำสั่งในแบบ Command Line
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ • โปรเจ็กต์คือ ที่รวมของไฟล์หลายๆ ไฟล์ที่จำเป็นต่อการทำงาน เพราะโดยปกติโปรแกรมหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยไฟล์มากกว่าหนึ่งไฟล์อยู่แล้ว • ในทางปฏิบัติคือการสร้างโฟลเดอร์เตรียมไว้ใส่ไฟล์ .java และ .class
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ) • เมื่อเปิดโปรแกรม Eclipse แล้ว ให้คลิกเลือกโฟลเดอร์ที่เราสร้างเตรียมไว้เก็บไฟล์
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ)
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ) • ที่ช่อง Project name ให้ตั้งชื่อ • คลิกปุ่ม (ด้านล่าง) แล้วกด
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ) • ก่อนอื่นสร้าง class จาก Project ที่สร้างขึ้น
ขั้นที่ 1 : สร้างโปรเจ็กต์ (ต่อ)
ขั้นที่ 2 : เขียนโปรแกรม • ให้เราพิมพ์คำสั่งในภาษา Java เพิ่มเติมแทรกเข้าไปดังนี้
ขั้นที่ 2 : เขียนโปรแกรม (ต่อ) • โปรแกรมที่เราเขียนขึ้นมาเป็นโปรแกรมง่ายๆ ที่เพียงแค่ส่งข้อความ “Hello World, Java” ออกไปแสดงผลที่หน้าจอ
ขั้นที่ 3 + 4 : คอมไพล์ และรันโปรแกรม • การคอมไพล์และรันโปรแกรมในกรณีปกติไม่มีการรับค่าอาร์กิวเมนต์
ขั้นที่ 3 + 4 : คอมไพล์ และรันโปรแกรม (ต่อ) • การคอมไพล์ และรันโปรแกรมในกรณีที่มีการรับค่าอาร์กิวเมนต์
ขั้นที่ 3 + 4 : คอมไพล์ และรันโปรแกรม (ต่อ) • การคอมไพล์ และรันโปรแกรมในกรณีที่มีการรับค่าอาร์กิวเมนต์
ขั้นตอนที่ 5 : การบันทึกโปรเจ็กต์ จะเห็นว่าไฟล์ .java ซึ่งเก็บโค้ดที่เราเขียนนั้นจะอยู่ในซับโฟลเดอร์ src ส่วนไฟล์นามสกุล .class ซึ่งได้จากการคอมไพล์นั้นจะเก็บอยู่ในซับโฟลเดอร์ bin (และทั้งหมดจะเก็บในภายใต้โปรเจ็กต์ที่เราได้สร้างขึ้น)
สาระสำคัญ ในส่วนนี้เราได้เรียนรู้ขั้นตอนโดยละเอียด พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติจริงให้เห็นถึงวิธีการเริ่มใช้งาน eclipse, วิธีการเขียนโปรแกรม, การคอมไพล์โปรแกรม และวิธีการทดสอบโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา จะเห็นว่าแม้จะมีขั้นตอนการใช้งานโปรแกรมที่หลายขั้นตอนแต่ก็ไม่ได้ซับซ้อน และการคอมไพล์กับการทดสอบผลลัพธ์การทำงานของโปรแกรมก็ทำได้ง่ายมาก