1 / 37

next

วิชาภาษาไทย จัดทำโดย ด.ญ.กัญญาวีร์ ศรีสันดา ด.ญ. รัตนาภรณ์ อิ่มอ่อน เสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ. next. มาตราตัวสะกด. คำนาม. แบบฝึกหัด. กลอนสุภาพ. คำกริยา.

wes
Download Presentation

next

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาภาษาไทยจัดทำโดยด.ญ.กัญญาวีร์ ศรีสันดาด.ญ. รัตนาภรณ์ อิ่มอ่อนเสนออาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ next

  2. มาตราตัวสะกด คำนาม แบบฝึกหัด กลอนสุภาพ คำกริยา

  3. ตัวสะกด เป็นพยัญชนะที่ใช้บังคับเสียงท้ายคำ หรือพยัญชนะที่ประกอบอยู่ท้ายสระ และมีเสียงประสมเข้ากับสระ มาตราตัวสะกดมีอยู่ 8 แม่ ได้แก่ แม่กง แม่กน แม่กม แม่กก แม่กด แม่กบ แม่เกย และแม่เกอว  มาตราแม่ กกแม่กก คือ คำที่อ่านออกเสียงเหมือน "ก" เป็นตัวสะกด เช่น กระจก อ่านว่า กระ - จก พรรค อ่านว่า พัก มาตราแม่ กนแม่กน คือ คำที่อ่านออกเสียงเหมือน "น" เป็นตัวสะกด เช่น บานชื่น อ่านว่า บาน - ชื่น ปัญญา อ่านว่า ปัน-ยา เทศบาล อ่านว่า เทด - สะ - บาน มาตราแม่ กบแม่กบ คือ คำที่อ่านออกเสียงเหมือน "บ" เป็นตัวสะกด เช่น ธูป อ่านว่า ทูบ กราฟ อ่านว่า กร๊าบมณฑป อ่านว่า มน - ดบ   หน้าหลัก ถัดไป

  4. มาตราแม่ กดแม่กด คือ คำที่อ่านออกเสียงเหมือน "ด" เป็นตัวสะกด เช่น ประเสริฐ อ่านว่า ประ - เสิด ทายาท อ่านว่า ทา - ยาด  มาตรา แม่ ก กา หรือ แม่ ก กา  คือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกดมาตรา กง หรือ แม่กง คือพยางค์ที่มีตัว ง สะกดหรือนิคหิตซึ่งทำหน้าที่เหมือนตัว ง สะกดมาตรา กม หรือ แม่กม  คือพยางค์ที่มีตัว ม สะกดหรือนิคหิต ซึ่งทำหน้าที่เหมือนตัว ม สะกดมาตรา เกย หรือ แม่เกย  คือพยางค์ที่มีตัว ย และ ตัว ว สะกด แม่ เกอว พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่เกอว คือ อ่านออกเสียง วตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ เกอว กริ้ว  ก๋วยเตี๋ยว  ข้าวยำ  หน้าหลัก

  5. คำนามในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ สามานยนาม (คำนามไม่ชี้เฉพาะ) หรือคำนามทั่วไป คือ คำนามสามัญที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือเป็นคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง สามานยนามบางคำมีคำย่อยเพื่อบอกชนิดย่อยๆของสิ่งต่างๆ เรียกว่า สามานยนามย่อย วิสามานยนาม (คำนามชี้เฉพาะ) หรือคำนามชี้เฉพาะ คือ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สถานที่ หรือเป็นคำเรียกบุคคล สถานที่เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนไหน สิ่งใด ลักษณนาม (คำนามแสดงลักษณะ) คือ คำนามที่ทำหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนขึ้น สมุหนาม (คำนามรวมหมู่) คือ คำนามบอกหมวดหมู่ของสามานยนาม และวิสามานยนามที่รวมกันมากๆ อาการนาม (คำนามแสดงอาการ) คือ คำนามที่บอกกิริยาอาการหรือความปรากฏเป็นต่าง ๆ ซึ่งมาจากคำกริยา หรือคำวิเศษณ์ จะมีคำว่า "การ" และ "ความ" นำหน้า หน้าหลัก

  6. กลอนสุภาพ เป็นกลอนประเภทหนึ่ง ซึ่งลักษณะคำประพันธ์ของภาษาไทย ที่เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ ใช้ถ้อยคำและทำนองเรียบๆ ซึ่งนับได้ว่ากลอนสุภาพเป็นกลอนหลักของกลอนทั้งหมด เพราะเป็นพื้นฐานของกลอนหลายชนิด หากเข้าใจกลอนสุภาพ ก็สามารถเข้าใจกลอนอื่นๆ ได้ง่ายขึ้นคำประพันธ์ ที่ต่อท้ายว่า "สุภาพ" นับว่าเป็นคำประพันธ์ที่แสดงลักษณะเป็นไทยแท้ ด้วยมีข้อบังคับในเรื่อง "รูปวรรณยุกต์" ในกลอนสุภาพนอกจากมีบังคับเสียงสระเป็นแบบแผนเช่นกลอนปกติแล้ว ยังบังคับรูปวรรณยุกต์เพิ่ม จึงมีข้อจำกัดทั้งรูปและเสียงวรรณยุกต์ [1] เป็นการแสดงไหวพริบปฏิภาณและความแตกฉานในการใช้ภาษาไทยของผู้แต่งให้เด่นชัดยิ่งขึ้น คำประพันธ์กลอนสุภาพนิยมเล่นกันมากตั้งแต่สมัยอยุธยา จวบจนถึงปัจจุบัน ในต้นรัตนโกสินทร์นั้นงานกลอนสุภาพเด่นชัดในรัชกาลที่ 2 ซึ่งเฟื่องฟูถึงขนาดมีการแข่งขันต่อกลอนสด กลอนกระทู้ ตลอดรัชสมัยมีผลงานออกมามากมาย เช่น กลอนโขน กลอนนิทาน กลอนละคร กลอนตำราวัดโพธิ์ เป็นต้น บทพระราชนิพนธ์เรื่อง เงาะป่า ก็เกิดขึ้นในยุคนี้ ยังมีกวีท่านอื่นที่มีชื่อเสียง เช่น สุนทรภู่ เป็นต้น และในสมัยรัชกาลที่ 6 ก็มีปราชญ์กวีทางกลอนสุภาพที่สำคัญหลายท่านเช่นกัน หน้าหลัก

  7. คำกริยาอาจแบ่งได้หลายประเภทตามหน้าที่การใช้งานและไวยากรณ์ของภาษา สำหรับภาษาไทยแบ่งคำกริยาออกเป็นอกรรมกริยา (intransitive verb) คือคำกริยาที่ไม่จำเป็นต้องมีกรรมมารองรับ เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน วิ่ง หกล้ม ร้องไห้สกรรมกริยา (transitive verb) คือคำกริยาที่บอกใจความยังไม่สมบูรณ์ ต้องมีกรรมมารองรับ เช่น ทำ กิน ซื้อ ขาย ยืม ขอ เช่า คำกริยาบางคำต้องมีทั้งกรรมตรงและกรรมรอง เช่น ให้ แจก ถวาย และคำกริยาหลายคำก็สามารถเป็นได้ทั้งอกรรมกริยาและสกรรมกริยาวิกตรรถกริยา คือคำกริยาที่บอกใจความยังไม่สมบูรณ์ ต้องมีคำอื่นมารองรับแต่ส่วนนั้นไม่ถือว่าเป็นกรรม เช่น เป็น คือ เหมือน คล้าย มี เท่า คำที่ประกอบวิกตรรถกริยาเรียกว่า บทวิกัติการก (ภาษาอังกฤษถือว่าคำกริยาประเภทนี้เป็นชนิดเดียวกับคำกริยานุเคราะห์)กริยานุเคราะห์ (auxiliary verb) คือคำกริยาที่ช่วยบอกสถานะหรือกาลของกริยาอื่น เช่น คงต้อง อาจ น่า จะ เคยแล้วกำลังกริยาสภาวมาลา (clausal verb) คือคำกริยาที่ทำหน้าที่เป็นคำนาม ในส่วนของประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยค หน้าหลัก

  8. แบบฝึกหัด 1. ข้อใดเป็นคำที่อยู่ในมาตราตัวสะกดแม่ กก • กองกลาง • ค้างคาว • เทคนิค • สับสน หน้าหลัก

  9. ถูกต้องค่ะ

  10. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ

  11. 2. ข้อใดเป็นคำที่มีตัวสะกดมาตราเดียวกับ แรด • เหว • บาตร • หยาม • ทราย หน้าหลัก

  12. ถูกต้องค่ะ

  13. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ

  14. 3. เหตุใดกลอนสุภาพจึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ากลอนแปด 1. เพราะหนึ่งบทมีแปดวรรค 2. เพราะหนึ่งวรรคมีแปดพยางค์(คำ)3. เพราะหนึ่งบทสัมผัสแปดที่4. เพราะทุกวรรคจะต้องสัมผัสในพยางค์ที่แปด หน้าหลัก

  15. ถูกต้องค่ะ

  16. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ

  17. 4. วรรคใดมีลักษณะเป็นกลอนสุภาพมากที่สุด1. สวนโมกข์พลารามเป็นแหล่งธรรมะ2. สุราษฎร์ธานีเป็นเมืองร้อยเกาะ3. เกาะพะงันงดงามยามคืนค่ำ4. บ้านนาสารมีเงาะกรอบอร่อย หน้าหลัก

  18. ถูกต้องค่ะ

  19. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ

  20. 5. ข้อใดคือคำนามก พระคุณท่านข ข้าพเจ้าค กระผมงสุนทรภู่ หน้าหลัก

  21. ถูกต้องค่ะ

  22. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ

  23. 6. คำว่า ขัน ในข้อใดเป็นคำนามก. หยิบขันตักน้ำให้พี่ข. ไก่ขันตอนเช้าค. เขาทำงานแข็งขันง. ขันเชือกให้แน่น หน้าหลัก

  24. ถูกต้องค่ะ

  25. 7. ข้อใดไม่มีกริยานุเคราะห์ 1. น้องดื่มนม 2. เด็กกอดคอกันในห้อง3. คุณแม่ล้างชาม 4. ลมพายุพัดอื้ออึง หน้าหลัก

  26. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ

  27. ถูกต้องค่ะ

  28. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ

  29. 8. ข้อใดไม่มีคำช่วยกริยาฉันคงไม่ไปเธอจะทำอะไรน้องกินข้าวผัดฝนอาจตก หน้าหลัก

  30. ถูกต้องค่ะ

  31. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ

  32. 9. คำว่า"พร้อม"ในข้อใดเป็นคำกริยาเครื่องมือพร้อมแล้วเครื่องมือมีพร้อมแล้วเรามีเครื่องมือพร้อมแล้วเราออกจากโรงเรียนพร้อมเพื่อน หน้าหลัก

  33. ถูกต้องค่ะ

  34. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ

  35. 10. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของคำกริยาทำหน้าที่เป็นประธานทำหน้ที่เป็นกรรมทำหน้าที่เป็นคำเรียกขานทำหน้าที่เป็นส่วนขยาย หน้าหลัก

  36. ถูกต้องค่ะ END

  37. ลองทำใหม่ อีกครั้งค่ะ END

More Related