1 / 21

กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ 177467-001 และ 801

กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ 177467-001 และ 801. ดร พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Outlines. แนะนำเนื้อหาวิชากฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และสอบถามความเห็นและการคาดหวังของผู้เรียน ความคาดหวังของผู้ที่สำเร็จวิชากฎหมายการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์ของวิชา

willow
Download Presentation

กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ 177467-001 และ 801

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ 177467-001 และ 801 ดร พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. Outlines แนะนำเนื้อหาวิชากฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และสอบถามความเห็นและการคาดหวังของผู้เรียน ความคาดหวังของผู้ที่สำเร็จวิชากฎหมายการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์ของวิชา ประโยชน์ของการเรียนหาวิชากฎหมายการค้า ประวัติและหลักแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ วิวัฒนาการและที่มาของกฎหมาย การค้าระหว่างประเทศ

  3. แนะนำเนื้อหาวิชา: โครงร่างหัวข้อบรรยาย • ประวัติและหลักแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ประโยชน์ของการเรียนหาวิชากฎหมายการค้า • การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ • สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ • UN Convention on Contract for Sale of Goods CISG สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ • กฎหมายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการชำระราคาในการค้าระหว่างประเทศ • คำเฉพาะในการทำสัญญาการค้าระหว่างประเทศ • การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

  4. การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ international • องค์กรการค้าระหว่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศเบื้องต้น • ข้อบังคับทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศเบื้องต้น • วิธีการระงับข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศ • กฎหมายและการลงทุนระหว่างประเทศ บรรษัทข้ามชาติ (Multinational Enterprises: MNEs) • ธรรมภิบาลกับการค้าระหว่างประเทศ • กฎหมายการค้าการลงทุนในอาเซียนเบื้องต้น • กฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง สรุป ตอบข้อซักถาม และแสดงความคิดเห็น

  5. ความคาดหวังของผู้ที่สำเร็จวิชากฎหมายการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์ของวิชา • เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจแนวคิด ทฤษฎี นโยบาย และกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ สัญญาซื้อขายเลตเตอร์ออฟเครดิต ขนส่ง ประกันภัย เป็นต้น เพื่อให้ • เพื่อให้สามารถวิเคราะห์กฎหมายการค้าระหว่างประเทศไทยกับนานาประเทศ สามารถชี้แจงให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสียของการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว • เพื่อให้สามารถนำหลักที่เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินกิจการ หรือการลงทุนอย่างใดอย่างหนึ่ง • เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักการที่สำคัญของการค้าระหว่างประเทศในการทางานสายอาชีพที่เกี่ยวกับธุรกิจระหว่างประเทศต่อไปได้ในอนาคต โดยเฉพาะในบริบทการรวมตัวทางเศรษฐกิจภายใต้ประชาคม อาเซียน

  6. ประโยชน์ของการเรียนหาวิชากฎหมายการค้าประโยชน์ของการเรียนหาวิชากฎหมายการค้า • เพิ่มพูนความรู้ในด้านการค้าระหว่างประเทศ และกฎหมายที่กำกับการค้าระหว่างประเทศ • นำความรู้ไปปฏิบัติงานในสายอาชีพต่างๆ

  7. เพิ่มพูนความรู้ในด้านการค้าระหว่างประเทศ และกฎหมายที่กำกับการค้าระหว่างประเทศ • ในการเรียน วิชา กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ รหัสวิชา 177467 • ประโยชน์อย่างแรกคือ ผู้ผ่านการเรียนวิชานี้จะสามารถเพิ่มพูนความรู้ในส่วนของ การค้าระหว่างประเทศ และกฎหมายที่กำกับกิจการการค้าระหว่างประเทศ ทั้งนี้ในการทำธุรกรรมต่างๆเกี่ยงกับการค้าระหว่างประเทศจะต้องมีความเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางธุรกิจระหว่างประเทศก่อนที่จะสามารถความเข้าใจกรอบกฎหมายหรือข้อบังคับที่กำกับกิจกรรมทางการค้าระหว่างประเทศนั้นๆ

  8. ตัวอย่างการเพิ่มพูนความรู้ในกิจกรรมการค้าระหว่างประเทศที่ต้องมีเช่นตัวอย่างการเพิ่มพูนความรู้ในกิจกรรมการค้าระหว่างประเทศที่ต้องมีเช่น • การผลิตสินค้า • การติดต่อซื้อขายสินค้าระหว่างคู่ค้าที่อยู่ต่างประเทศ, • การตรวจสอบสินค้า, • การตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับการค้า, • การติดต่อผู้รับขนส่งสินค้าทางทะเล • การติดต่อผู้รับขนส่งสินค้าหลากหลายรูปแบบ • การนำสินค้าเข้าประเทศ,

  9. การผ่านพิธีการศุลกากร ขาเข้า • การนำสินค้าออกนอกประเทศ, • การผ่านพิธีการศุลกากร ขาออก • การติดต่อต่อตัวแทนออกสินค้า • การทำธุรกรรมการจ่ายเงิน • การทำธรกรรมการรับเงิน • การเปิดการค้าระดับทวิภาคี • การเปิดตลาดการค้าในระดับภูมิภาค • การเปิดตลาดการค้าในระดับโลก

  10. Video Clip Globalisation

  11. นำความรู้ไปปฏิบัติงานในสายอาชีพต่างๆนำความรู้ไปปฏิบัติงานในสายอาชีพต่างๆ • ภาคเอกชน Law firms, MNEs • ภาครัฐ • International organizations • NGO • Academic

  12. ภาคเอกชน Law firms, MNEs • บริษัทข้ามชาติ • บริษัทนำเข้าส่งออก • บริษัทตัวแทนนำเข้าส่งออก • ธนาคาร • บริษัทประกัน • สำนักงานกฎหมาย

  13. Video Clip • International Trade and Supply Chain

  14. ภาครัฐ • ศาลทรัพสินทางปัญญา • อัยการ • พนักงานราชการ

  15. ภาครัฐ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศในเรื่องการค้า เศรษฐกิจและการ ดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจจะมีผลต่อรายได้ประชาชาติโดยตรง หน่วยงานสำคัญทางเศรษฐกิจของไทย ได้แก่ • ธนาคารแห่งประเทศไทย • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • กระทรวงการคลัง • กระทรวงพาณิชย์ • ต่างมีส่วนกำหนดให้ระบบเศรษฐกิจไทยมีการพัฒนาโดยการพึ่งพาต่างประเทศกิจกรรม ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ได้แก่ การค้าระหว่างประเทศ การชำระเงินระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ และความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

  16. International organizations • UNDP • WORLD BANK • ADB • IMF • FTA association • ASEAN

  17. NGO • TDRI • CUTS • IDLO • FNF • GIZ

  18. ประวัติและหลักแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายการค้าระหว่างประเทศประวัติและหลักแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ แนวคิดว่าด้วย “การค้า” ในคำว่า “กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ นิติสัมพันธ์นี้โดยทั่วไปเป็นเรื่อง ระหว่างเอกชนกับเอกชน • นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน • นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชน ที่มา : รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร: กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ : หลักกฎหมายระหว่างประเทศพื้นฐาน

  19. นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายเอกชน • โดยทั่วไป นิติสัมพันธ์ทางการค้าจึงเป็นเรื่องตามกฎหมายเอกชนหากเป็นเรื่องระหว่างเอกชนและเอกชน นิติสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชน • เมื่อรัฐใดรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐเข้ามาแทรกแซงในการจัดการการเคลื่อนตัวของสินค้าหรือบริการ นิติสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นย่อมเป็นเรื่องตามกฎหมายมหาชน เป็นเรื่องระหว่างรัฐและเอกชน ที่มา : รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร: กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ : หลักกฎหมายระหว่างประเทศพื้นฐาน

  20. International trade law is a very complex and an ever expanding area. There are basically four levels of international trade relationships: unilateral measures (national law), bilateral relationships (Canada-United States Free Trade Agreement), plurilateral agreements, and multilateral arrangements (GATT/WTO). • The focus of this guide is on international trade generally and on some of the major bilateral or multilateral agreements: NAFTA, GATT/WTO, FTA, and CAFTA. Many of the sources listed throughout this guide will contain information about other trade agreements and arrangements Source: http://www.law.georgetown.edu/library/research/guides/internationaltradelaw.cfm

  21. สงวนสิทธิ์ พรชัย วิสุทธิศักดิ์

More Related