1.13k likes | 1.5k Views
โปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน Microsoft Office Power Point ) เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส. การรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้า. เซลล์ประสาท. การทำงานของเซลล์ประสาท. ศูนย์ควบคุมการทำงานของระบบประสาท. การทำงานของระบบประสาท. อวัยวะรับสัมผัส (ตา). อวัยวะรับสัมผัส (หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง).
E N D
โปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน Microsoft Office Power Point ) เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส การรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้า เซลล์ประสาท การทำงานของเซลล์ประสาท ศูนย์ควบคุมการทำงานของระบบประสาท การทำงานของระบบประสาท อวัยวะรับสัมผัส (ตา) อวัยวะรับสัมผัส (หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง) สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
เรื่อง การรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้า สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
แผนภาพที่ กระบวนการรับรู้ของสิ่งมีชีวิต กระแส ประสาท กระแส ประสาท หน่วยรับความรู้สึก ระบบประสาท หน่วยรับความรู้สึก สิ่งเร้า impluse impluse Receptor Nervous System Effectors Stimulus Response สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 1 วงจรการรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต ที่มา :http://mulinet6.li.mahidol.ac.th/cd-rom/cd-rom0311t/ch1/chapter1/part_3.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
หน้าที่ของระบบประสาท หน้าที่ของระบบประสาทแบ่งออกเป็น 3 ส่วน • นำสัญญาณประสาท จากหน่วยรับความรู้สึก (receptor)ไปยังศูนย์ที่อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง : Sensory input • รวบรวมข้อมูลและแปรผล :integration • นำคำสั่ง จากศูนย์สั่งการไปยังหน่วยตอบสนอง effectors : motor output สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิดการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด ภาพที่ 2 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด ที่มา http://mulinet6.li.mahidol.ac.th/cd-rom/cd-rom0311t/ch1/chapter1/part_3.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
การพัฒนาของระบบประสาทไปเป็นสมองและไขสันหลังการพัฒนาของระบบประสาทไปเป็นสมองและไขสันหลัง ภาพที่ 3 สมองและไขสันหลัง ที่มา: http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/cnspic.htm สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ในขณะที่เป็นเอมบริโอมีลักษณะเป็นหลอดกลวง เรียกว่า neural tube ที่โป่งออกแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง และส่วนไขสันหลัง ภาพที่ 4 neural tube ที่มา :http://www.uoguelph.ca/zoology/ devobio/210labs/neuraldevel1.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 5 การพัฒนาของ neural tube ไปเป็นสมองและไขสันหลัง ในระยะเป็นเอมบริโอที่มา : http://thebrain.mcgill.ca/flash/i/i_09/i_09_cr/i_09_cr_dev/i_09_cr_dev.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 6 เอมบริโอระยะที่มีการเจริญพัฒนาของ neural tube ไปเป็นสมอง ที่มา: http://www.uoguelph.ca/zoology/ devobio/210labs/brainchart.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
เรื่อง เซลล์ประสาท สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 7 เซลล์ประสาทของมนุษย์ ที่มา : http://www.emc.maricopa.edu/faculty/ farabee/BIOBK/BioBookNERV.html#Nervous%20Systems สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 8 เซลล์ประสาทของมนุษย์ ที่มา : http://www.emc.maricopa.edu/faculty/ farabee/BIOBK/BioBookNERV.html#The%20Neuron สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
การสร้าง myclin sheath ที่ติดต่อกับ schwann cell ภาพที่ 9 การม้วนตัวของ schwann cell ที่มา : สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่10 ก : ภาพการสร้างเยื่อไมอีลิน ข : ภาพจำลองแสดงเส้นใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม (ตัดตามขวาง)และภาคตัดขวางของเยื่อไมอีลินติดต่อกับเซลล์ชวันน์ที่มา : http://mulinet6.li.mahidol.ac.th/cd-rom/cd-rom0311t/ch1/chapter1/part_3.htm สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
Cell Body, Axon, and Dendrites ภาพที่ 11 ลักษณะของเซลล์ประสาท ที่มา :http://www.usm.maine.edu/psy/broida/101/neuron.JPG สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 12 Axon ที่มีเยื่อไมอีลินห่อหุ้ม ที่มา :http://www.fotosearch.com/LIF145/pdb01010/ • Axon ถูกห่อหุ้มด้วยปลอกไมอีลิน (myelin sheath) ซึ่งมีลักษณะคล้ายโซ่ที่มีลูกปัดหลายอันร้อยอยู่ • ลูกปัดแต่ละอันคือ Schwann cell • ช่องระหว่าง Schwann cells เรียกว่า nodes of Ranvier ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการถ่ายทอดสัญญาณประสาท สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
บริเวณปลายของ axon เรียกว่า synaptic terminal ซึ่งทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณไปยังเซลล์เป้าหมายโดยการหลั่งสารสื่อประสาท (neurotransmitter) • เซลล์เป้าหมายอาจเป็นเซลล์ของ effector (เช่นเซลล์กล้ามเนื้อ) หรืออาจเป็นเซลล์ประสาทอีกเซลล์หนึ่งก็ได้ • บริเวณที่มีการติดต่อระหว่าง synaptic terminal กับเซลล์เป้าหมายเป็นช่องว่างเล็กๆ เรียกว่า synapse สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 13 ส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ที่มา :http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Nakpump.htm สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 14 เซลล์ประสาทในสัตว์ชั้นสูง ที่มา : http://www.fotosearch.com/LIF145/pdb01010/ สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
เซลล์ประสาทจำแนกตามโครงสร้างแบ่งออกเป็น 3 ประเภท • เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) • เซลล์ประสาทสองเดียว (bipolar neuron) • เซลล์ประสาทหลายขั้ว (mutipolar neuron) ภาพที่ 15 เซลล์ประสาทจำแนกตามโครงสร้าง ที่มา :http://computer.act.ac.th/ webproject5_2548/st/m51/Nervous/typeofneuron.htm สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด • Sensory neuron (เซลล์ประสาทรับความรู้สึก) • Motor neuron (เซลล์ประสาทสั่งการ) • Assosiation neuron (เซลล์ประสาทประสานงาน) ภาพที่ 16 เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่ ที่มา : http://mulinet6.li.mahidol.ac.th/cd-rom/cd-rom0311t/ch1/chapter1/part_3.htm สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 17 มัดของเซลล์ประสาท ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Image:Central_nervous_system.svg สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 18 การเคลื่อนที่ของสัญญาณประสาทผ่าน Synapse ที่มา:http://fukidbionote.blogspot.com/2008/03/nerve-system.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 19 สารสื่อประสาทผ่านช่องไชแนปส์ ที่มา :http://fukidbionote.blogspot.com/2008/03/nerve-system.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
การ synapse ระหว่างเซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทประสานงาน และเซลล์ประสาทสั่งการ อ้างอิงภาพที่ 16 เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่ ที่มา : http://mulinet6.li.mahidol.ac.th/cd-rom/cd-rom0311t/ch1/chapter1/part_3.htm สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 20 การำงานของเซลล์ประสาทสั่งการ ที่มา :http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Nakpump.htm สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
เรื่อง การทำงานของเซลล์ประสาท สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 21 การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทของใยประสาทที่ไม่มีเยื่อ myelin sheath ที่มา :http://fukidbionote.blogspot.com /2008/03/nerve-system.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 22 การเคลื่อนที่ของกระประสาทผ่านเซลล์ประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ที่มา : http://fukidbionote.blogspot.com/2008/03/nerve-system.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 23 ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาท ที่มา :http://mulinet6.li.mahidol.ac.th/cd-rom/cd-rom0311t/ch1/chapter1/part_3.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 24 การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้า ขณะที่เซลล์ประสาทถูกกระตุ้น ที่มา : http://fukidbionote.blogspot.com/2008/03/nerve-system.html สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
การเกิดกระแสประสาท • เซลล์ประสาทขณะพัก (reatingneuron) ความต่างศักย์ภายในและภายนอกเซลล์ขณะพักซึ่งเรียกว่า resting potential มีค่า ประมาณ 60 มิลลิโวลต์ • เซลล์ประสาทขณะมีการขนส่ง กระแสประสาท เมื่อถูกกระตุ้น เกิดภาวะการณ์กลับขั้วขึ้น depolarization และรียกว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนไปนี้ว่า Action potential • เซลล์ประสาทขณะหยุดการขนส่ง กระแสประสาท หลังจากเกิดการกลับขั้ว (depolarization) ความต่างศักย์ไฟฟ้าจะลดลงจนกลับมาเป็น 60 มิลลิโวลต์ เหมือนในขณะพักเรียกว่ามีการเกิดคืนขั้ว (Repolarization) ทำให้ศักย์ไฟฟ้ามีค่าเท่ากับ Resting potential เหมือนเดิม สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
เรื่อง ศูนย์การควบคุมการทำงานของระบบประสาท สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลังระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง • ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) ประกอบด้วย สมอง และ ไขสันหลัง ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายนอก เช่น แขน ขา กล้ามเนื้อ กระดูก • ระบบเส้นประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System; PNS) ประกอบด้วย • เส้นประสาทที่ออกจากสมอง (cranial nerve) • เส้นประสาทที่ออกจากไขสันหลัง (spinal nerve) สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
Cranial nerves • ในคนมี 12 คู่ • ในกบมี 10 คู่ • Spinal nerves • ในคนมี 31 คู่ • ในกบมี 9-10 คู่ ภาพที่ 25 สมองและไขสันหลังของมนุษย์ ที่มา : http://www.fotosearch.com/LIF145/pdb01010/ สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
สมองส่วนหน้า (Forebrain) • สมองส่วนกลาง (Midbrain) • สมองส่วนท้าย (Hindbrain) ภาพที่ 26 สมอง ที่มา : http://www.fotosearch.com/LIF145/pdb01010/ สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 27 โครงสร้างของสมอง ที่มา :http://www.emc.maricopa.edu/faculty/ farabee/BIOBK/ BioBookNERV. html#Nervous%20Systems สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่28 บริเวณส่วนส่วนต่างๆ ในสมอง ที่มา :http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/BIOBK/BioBookNERV.html#Nervous%20Systems สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
สมองส่วนหน้า (Forebrain) • อีกชื่อหนึ่งคือ โปรเซนเซฟาลอน (Prosencephalon) • แบ่งได้เป็น 3 ส่วนหลัก • ซีรีบรัม (Cerebrum) • ธาลามัส (Thalamus) • ไฮโปธาลามัส (Hypothalamus) สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ซีรีบรัม (Cerebrum) • เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เทเลนเซฟาลอน (Telencephalon) • เป็นสมองส่วนที่ใหญ่ที่สุด • ประกอบด้วย 2 ซีก (hemispheres) ซ้าย & ขวา • หน้าที่: ความจำ การเรียนรู้ การใช้เหตุผล การพูด ศูนย์กลางการรับรู้การมองเห็น การได้ยิน กลิ่น รส สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ธาลามัส(Thalamus) • เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ทาลาเมนเซฟาลอน (Thalamencephalon) • เป็นบริเวณที่รวมกลุ่มของตัวเซลล์ประสาทและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เรียกว่านิวโรเกลีย (neuroglia) ทำหน้าที่รับสัญญาณประสาทจากหูและตา แล้วส่งต่อไปยังซีรีบรัม • เกี่ยวข้องกับการตื่นตัวของซีรีบรัม • มีส่วนร่วมในกระบวนการสร้างความจำและอารมณ์ สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ไฮโปธาลามัส(Hypothalamus) • อยู่ถัดจาก thalamencephalon ลงมา • เป็นศูนย์ที่ช่วยรักษาภาวะธำรงดุลของร่างกาย โดยควบคุมการหิว การนอน การกระหายน้ำ อุณหภูมิร่างกาย และ สมดุลน้ำ • ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมอง (pituitary gland) สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
สมองส่วนกลาง (Midbrain) • อีกชื่อหนึ่งคือ มีเซนเซฟาลอน (Mesencephalon) • มีส่วนที่พองออกเป็นกระเปาะเรียกว่า ออพติกโลป (Optic lobe) • ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ถ่ายทอดสัญญาณประสาทเกี่ยวกับการมองเห็นและการได้ยิน • ในปลา รับความรู้สึกจากเส้นข้างลำตัว สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
สมองส่วนท้าย (Hindbrain) • เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า รอมเบนเซฟาลอน (Rhombencephalon) • ประกอบด้วย ซีรีเบลลัม (Cerebellum) และพอนส์ (Pons) • มี เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla oblongata) เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างสมองกับไขสันหลัง สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ซีรีเบลลัม (Cerebellum) • รับสัญญาณข้อมูลเกี่ยวกับตำแหน่งของข้อต่อต่างๆ และข้อมูลจากระบบรับรู้การได้ยินและการมองเห็น • ควบคุมและประสานงานเกี่ยวกับการทำงานของกล้ามเนื้อ เพื่อควบคุมการเคลื่อนไหวและการทรงตัว • การมีแอลกอฮอล์ในเลือดสูง มีผลต่อซีรีเบลลัม ทำให้ทรงตัวได้ไม่ดี สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
พอนส์ (Pons) • อยู่ทางด้านหน้าของซีรีเบลลัม • ควบคุมการเคี้ยวอาหาร การหลั่งน้ำลาย การหายใจ การฟัง และการถ่ายทอดความรู้สึกจากซีรีบรัมไปยังซีรีเบลลัม สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) • รูปร่างคล้ายไขสันหลัง • ควบคุมเกี่ยวกับระบบประสาทอัตโนมัติหลายอย่าง เช่น การเต้นของหัวใจและการหมุนเวียนของเลือด สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 29 แสดงสมองส่วนหน้า ส่วนกลางและส่วนท้าย ที่มา :http://www.fotosearch.com/LIF145/pdb01010/ สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย
ภาพที่ 30 ตำแหน่งของเส้นประสาทมองของคน ที่มา :http://computer.act.ac.th/webproject5_2548/st/m51/Nervous/Brainstempic.htm สื่อบทเรียนคอมพิเตอร์ช่วยสอนประกอบคำบรรยาย