1 / 12

หลักการที่ดีในการทำ E - Learning  อย่าง ต่อเนื่อง ในสถาบันการศึกษา

หลักการที่ดีในการทำ E - Learning  อย่าง ต่อเนื่อง ในสถาบันการศึกษา. K.S. Cheung*, J. Lam, T. Im and R. Szeto ศูนย์การเรียนรู้ไซเบอร์ สเปซ มหาวิทยาลัยฮ่องกง. การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา

Download Presentation

หลักการที่ดีในการทำ E - Learning  อย่าง ต่อเนื่อง ในสถาบันการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการที่ดีในการทำ E - Learning อย่างต่อเนื่องในสถาบันการศึกษา K.S. Cheung*, J. Lam, T. Im and R. Szeto ศูนย์การเรียนรู้ไซเบอร์สเปซ มหาวิทยาลัยฮ่องกง

  2. การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา บทความนี้สรุปประสบการณ์ของผู้วิจัยในการทำ e-learning อย่างต่อเนื่องในสถาบันการศึกษา ตามประสบการณ์ของผู้วิจัยได้เสนอบางหลักการที่ดีในการทำ e-learning กล่าวโดยสรุปแล้ว e-learning ควรจะเป็นมากกว่าแพลตฟอร์ม แต่ควรเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองซึ่งเสริมจากการเรียนแบบเดิมที่เรียนในห้องเรียน โดยมีเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อน E-learning ควรได้รับการสนับสนุนด้านการบริการ IT และการพัฒนา e-course ซึ่งเป็นความร่วมมือกันของนักวิชาการและเจ้าหน้าที่ด้านไอที

  3. ในปัจจุบันอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีการสื่อสาร มีส่วนทำให้การเรียนรู้มีความยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นักศึกษาจะได้รับอนุญาตให้เข้าถึงสื่อการเรียนรู้ที่เข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้และเข้าร่วมการอภิปรายในสถานที่ใดและเวลาใด ๆ ก็ได้ ความยืดหยุ่นนี้เป็นสิ่งที่ส่งเสริมกลยุทธ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเป้าหมายที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน ระบบการจัดการการเรียนรู้นี้เป็นการพัฒนาการให้บริการและการแก้ไขปัญหาโดยใช้ e-learning สำหรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮ่องกง

  4. Figure 1 Homepage of the SOUL System

  5. Figure 2 Sample Screen of the Multimedia e-course

  6. Figure 3 Sample Screen of the Japanese e-course

  7. Figure 4 Sample Screen of the Financial Planning e-course

  8. Figure 5 Sample Screen of the Basic Accounting e-course

  9. การที่ทำให้ E-learning ประสบความสำเร็จต้องทำ 5 ข้อดังนี้ ข้อมูลเหล่านี้ถูกรวบรวมจากประสบการณ์ของผู้วิจัย • สภาพแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพของ  E - learning  ควรจะเป็นมากกว่าแค่เป็นแพลตฟอร์ม นอกจากนี้ต้องครอบคลุม E-courses เพื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ • E - learning ควรจะเป็นตัวผลักดันการเรียนการสอนไม่ใช่ให้เทคโนโลยีเป็นตัวผลักดัน มันถูกพิสูจน์แล้วว่าการจัดการหลักสูตรอิเล็คทรอนิกส์และใช้นวัตกรรมของไอทีสำหรับการอกแบบเนื้อหาการเรียนการสอนมีความสำคัญต่อความสำเร็จของ  E - learning • ตามประสบการณ์ของผู้วิจัย E - learning ไม่เพียงแต่เสริมการเรียนรู้แบบเดิมที่เรียนในห้องเรียนแต่สามารถเติมเต็มได้ 3 ด้าน คือ • ช่วยผู้เรียนเตรียมบทเรียนก่อนการเรียน • ช่วยผู้เรียนทบทวนบทเรียน • ช่วยอธิบายบทเรียนหรือแนวความคิดที่ยากและซับซ้อนด้วยรูปภาพเคลื่อนไหว ทำให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายขึ้น • E – learning ควรเป็นระบบการจัดการเรียนรู้แบบเปิด • E - learning ควรจะเป็นร่วมมือกันด้าน IT Support Services ของเจ้าหน้าที่ด้านไอทีและการพัฒนาหลักสูตร  E-courses ของนักวิชาการ

  10. สรุป ถึงแม้ตอนนี้ E-learning มีแนวโน้มที่ไม่เพียงแต่ใช้ในมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษา ยังถูกใช้ในสถาบันการศึกษาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง แต่ยังคงขาดมาตรฐานที่ดี งานวิจัยนี้สรุปประสบการณ์ในการพัฒนา E-learning และหลัก 5 ข้อที่จะทำให้ประสบความสำเร็จ E-learning เป็นการเติมเต็มการเรียนรู้แบบเดิมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ผู้วิจัยมีความเชื่อว่างานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อสถาบันการศึกษาที่จะพัฒนา E-learning ต่อไป

  11. 1. งานวิจัยที่อ่านเกี่ยวข้องกับ IS ของเรายังไง เพราะงานวิจัยฉบับนี้เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนผ่านทางอิเล็คทรอนิกส์ และบอกสิ่งที่ควรปฏิบัติในการทำให้สำเร็จ 5 ข้อ ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพของ  E - learning  ควรจะเป็นมากกว่าแค่เป็นแพลตฟอร์ม นอกจากนี้ต้อง ครอบคลุม E-courses เพื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ 2. E - learning ควรจะเป็นตัวผลักดันการเรียนการสอนไม่ใช่ให้เทคโนโลยีเป็นตัวผลักดัน มันถูกพิสูจน์แล้วว่าการ จัดการหลักสูตรอิเล็คทรอนิกส์และใช้นวัตกรรมของไอทีสำหรับการอกแบบเนื้อหาการเรียนการสอนมี ความสำคัญต่อความสำเร็จของ  E - learning 3. ตามประสบการณ์ของผู้วิจัย E - learning ไม่เพียงแต่เสริมการเรียนรู้แบบเดิมที่เรียนในห้องเรียนแต่สามารถเติม เต็มได้ 3 ด้าน คือ 1. ช่วยผู้เรียนเตรียมบทเรียนก่อนการเรียน 2. ช่วยผู้เรียนทบทวนบทเรียน 3. ช่วยอธิบายบทเรียนหรือแนวความคิดที่ยากและซับซ้อนด้วยรูปภาพเคลื่อนไหว ทำให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายขึ้น 4. E – learning ควรเป็นระบบการจัดการเรียนรู้แบบเปิด 5. E - learning ควรจะเป็นร่วมมือกันด้าน IT Support Services ของเจ้าหน้าที่ด้านไอทีและการพัฒนาหลักสูตร  E-courses ของนักวิชาการ

  12. 2. ผู้ทำวิจัยมีแรงจูงใจอะไรในการทำวิจัยชิ้นนี้ เพื่อพัฒนาการให้บริการและการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ฮ่องกงโดยใช้ e-learning 3. ผู้ทำวิจัยใช้เทคนิคอะไรในการทำวิจัย ผู้วิจัยรวบรวมจากประสบการณ์ในการทำ e-learning มากว่า 10 ปี 4. เค้าค้นพบอะไร ถึงแม้ตอนนี้ E-learning มีแนวโน้มที่ไม่เพียงแต่ใช้ในมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษา ยังถูกใช้ในสถาบันการศึกษาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง แต่ยังคงขาดมาตรฐานที่ดี 5. ช่วยงานของเราได้อย่างไร ทราบหลักการและตัวอย่างการทำ e-learning ที่ดี 6.ทำไมเราถึงเลือกวิจัยนี้มา เพราะข้อมูลของงานวิจัยฉบับนี้สามารถนำไปปรับใช้กับ IS ของตนเองได้

More Related