1 / 35

สนับสนุน SME สู่สากลด้วย iTAP

สนับสนุน SME สู่สากลด้วย iTAP. เครือข่าย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. นำเสนอต่อ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 18 กุมภาพันธ์ 2552. หัวข้อนำเสนอ. 01. แนะนำ iTAP. 02. ผลการดำเนินงาน. 03. ตัวอย่างผลงานสำคัญ. 04. ทิศทางดำเนินงานต่อไป.

yadid
Download Presentation

สนับสนุน SME สู่สากลด้วย iTAP

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สนับสนุน SME สู่สากลด้วย iTAP เครือข่าย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี นำเสนอต่อ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 18 กุมภาพันธ์ 2552

  2. หัวข้อนำเสนอ 01 แนะนำ iTAP 02 ผลการดำเนินงาน 03 ตัวอย่างผลงานสำคัญ 04 ทิศทางดำเนินงานต่อไป

  3. iTAP สังกัดศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  4. ความเป็นมา 2550 2535 2548 2543 เส้นทางการเติบโตของ iTAP มีเครือข่ายบริการใน ภูมิภาค 9 แห่ง และได้รับงบสนับสนุน จาก สสว. 100 ล้านบาท ขยายเครือข่ายสู่ภูมิภาค และได้รับงบสนับสนุนจาก สศช. 15 ล้านบาท ประเมินผลประโยชน์ต่อต้นทุน 6 เท่า และพัฒนาเป็น iTAP เริ่มกิจกรรมบริการ ปรึกษาอุตสาหกรรม

  5. เครือข่าย iTAP ครอบคลุมทั่วประเทศ • ภาคกลาง • -อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สวทช. (ปทุมธานี)ภาคเหนือ • สวทช. เครือข่ายภาคเหนือ (เชียงใหม่) • ภาคใต้ • ม.วลัยลักษณ์ (นครศรีธรรมราช) • -ม.สงขลานครินทร์ (สงขลา) • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ม.เทคโนโลยีสุรนารี (นครราชสีมา) • ม.ขอนแก่น (ขอนแก่น) • ม.มหาสารคาม (มหาสารคาม) • ม.อุบลราชธานี (อุบลราชธานี) • ภาคตะวันตก • -ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (กรุงเทพฯ) • ภาคตะวันออก • สถาบันไทย-เยอรมัน (ชลบุรี) สวทช.เครือข่ายภาคเหนือ ม.ขอนแก่น ม.มหาสารคาม ม.สุรนารี สวทช. ม.อุบลฯ มจธ. สถาบันไทย-เยอรมัน ม.วลัยลักษณ์ ม.สงขลา สำนักงานใหญ่ เครือข่ายที่มีในปัจจุบัน

  6. บุคลากร : iTAP KMUTT อาจารย์วรรณภพ กล่อมเกลี้ยงผจก.เครือข่าย นายสมชาย บุญอินทร์ วทบ.ฟิสิกส์ กลุ่มอื่นๆ น.ส.วิไลพร ธรรมรัตน์ วทม.ชีวเคมี กลุ่มยานยนต์ น.ส.สุพิญญา สุขประเสริฐ ศบ.บัญชี นักบัญชีและบริหารงานทั่วไป น.ส.ปิยรัตน์ปัทม์แก้ว วทม.การจัดการเทคโนโลยีชีวภาพ น.ส.กัลยาณี มีทรัพย์ วมบ.อุตสาหกรรมเกษตร กลุ่มอาหารและเกษตร กลุ่มเกษตรและเทคโนโลยี

  7. แนะนำ iTAP โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย Industrial Technology Assistance Program Vision: เป็นผู้ไขปัญหาทางเทคโนโลยีให้แก่ภาคการผลิตทั่วประเทศ เพื่อให้ประสบความสำเร็จในการสร้างนวัตกรรมและเพิ่มคุณค่า แก่สินค้าและบริการ วิสัยทัศน์ • Mission : • พัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งทางเทคโนโลยีของภาคการผลิต โดยเฉพาะ SMEs และเครือข่ายวิสาหกิจ (Industrial Cluster) • สนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยสู่ภาคการผลิต (from Lab to Market)และนำโจทย์ความต้องการจากภาคการผลิต มาสู่การทำวิจัย (From Market to Lab) • ขยายบริการได้ครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศไทย พันธกิจ Business Model : เน้นความต้องการของภาคเอกชนเป็นหลัก (Client Focus) เน้นการทำงานอย่างเป็นระบบ ด้วยบุคลากรที่มีคุณภาพ (Excellence Delivery) เน้นการทำงานแบบเครือข่ายความร่วมมืออย่างเข้มแข็ง (Networking) รูปแบบการดำเนินงาน

  8. iTAP : เชื่อมโยงความต้องการสู่แหล่งเทคโนโลยี หน่วยงานวิจัย และเอกชน การเงิน การตลาด องค์กรผู้เชี่ยวชาญ ต่างประเทศ SME Demand การแข่งขัน เทคโนโลยี มหาวิทยาลัย Supply ผู้เชี่ยวชาญ ในประเทศ สถาบันเทคโนโลยี เฉพาะทาง มาตรการ จูงใจด้านภาษี การจัดการผลิต แหล่งเทคโนโลยี ผู้ใช้เทคโนโลยี ตัวขับเคลื่อน การใช้เทคโนโลยี

  9. iTAP ไขปัญหาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทุกระดับ ระดับขั้นสูง วิจัย พัฒนา นวัตกรรม (สร้างแนวความคิดใหม่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ) ระดับกลาง ยกระดับเทคโนโลยี (เพิ่มความสามารถการออกแบบ ฯลฯ) ระดับพื้นฐาน แก้ปัญหาการผลิต (ลดของเสีย เพิ่มประสิทธิภาพ ฯลฯ) วิจัยและพัฒนา เข้มข้น เทคโนโลยี เข้มข้น ทักษะ เข้มข้น แรงงาน เข้มข้น

  10. อุตสาหกรรมเป้าหมาย การแพทย์และสุขภาพ ซอฟต์แวร์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม ชิ้นส่วนยานยนต์ (พลาสติก โลหะ ยาง เคมี) ไม้และเครื่องเรือน อาหารและเกษตร วิจัยและพัฒนา เข้มข้น สิ่งทอ เทคโนโลยี เข้มข้น ทักษะ เข้มข้น แรงงาน เข้มข้น

  11. iTAP เชื่อมโยง…….หิ้งไปสู่ห้าง ความต้องการของภาคเอกชน นำโจทย์ความต้องการของภาคเอกชน (SME) มาสู่การทำวิจัยและพัฒนา แหล่งเทคโนโลยี/สถาบันวิจัย สนับสนุนการนำผลงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์

  12. กลไกการทำงานของ iTAP ที่สอดคล้องกับความต้องการของ SMEs มากขึ้น บริการข้อมูล อุตสาหกรรม ศึกษา ความเป็นไปได้ อบรมสัมมนา เชิงวิชาการ ประชุม/ ระดมสมอง เสาะหาเทคโนโลยี (ในและต่างประเทศ) วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ สำรวจ ความต้องการ กลไกของ iTAP จับคู่ธุรกิจ- เทคโนโลยี ให้คำปรึกษา เชิงลึก ขยายความร่วมมือ- เครือข่าย เชื่อมโยงสู่กิจกรรม สนับสนุนเอกชนต่างๆ จัดบูธ นิทรรศการ กลไกหลัก ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อต่างๆ กลไกสนับสนุน

  13. ผลประโยชน์ที่ได้รับ ผลประโยชน์ต่อ รายบริษัท ผลประโยชน์ต่อ กลุ่มอุตสาหกรรม ผลประโยชน์ต่อ สถาบันวิจัย/สถาบันการศึกษา ผลประโยชน์ต่อ ประเทศไทย บริษัทมีขีดความ สามารถที่เข้มแข็ง กลุ่มอุตสาหกรรมมี ความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น นักวิจัย/อาจารย์มี ศักยภาพทำวิจัยเพิ่มขึ้น โครงสร้างพื้นฐานด้าน ว และ ท ของประเทศ เข้มแข็ง สินค้า/บริการมี มูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ผลงานวิจัยมีการนำไปใช้ ประโยชน์จริง มีการทำ R&D ร่วมกัน ในกลุ่มอุตสาหกรรม ภาคการผลิตและภาครัฐ มีทิศทางการพัฒนา ในแนวทางเดียวกัน ได้โจทย์วิจัยที่ตรงกับ ความต้องการของอุตสาหกรรม มุ่งทำ R&D เพิ่มขึ้น มีการแลกเปลี่ยน ข้อมูล/ประสบการณ์ เกิดวงจรแห่งการเรียนรู้ และพึ่งพากัน นักวิจัย/อาจารย์/นศศ. ได้มีการนำความรู้ไปช่วย ภาคอุตสาหกรรม บุคลากรด้านวิทย์ ได้รับการพัฒนา มีการทำกิจกรรมด้าน ว และ ท ร่วมกัน มีการเชื่อมโยงระหว่าง ภาครัฐ-ภาคเอกชนจริง บริษัทได้รับการแก้ไข ปัญหาอย่างถูกวิธี มีการรวมกลุ่ม อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น นักวิจัย/อาจารย์/นศศ. ได้เรียนรู้ปัญหาจริง ในโรงงานอุตสาหกรรม

  14. ผลการดำเนินงานที่สำคัญผลการดำเนินงานที่สำคัญ สนับสนุน SME ติดต่อ SME ~12,000 บริษัท วิเคราะห์ปัญหาทางเทคนิคเบื้องต้น 2,736 บริษัท พัฒนา เทคโนโลยี พัฒนาเทคโนโลยีของ SME(ให้คำปรึกษาเชิงลึก) 1,609 โครงการ เสาะหาเทคโนโลยี 59 ครั้ง 729 บริษัท พัฒนา คนของ SME ฝึกอบรม/สัมมนาเชิงวิชาการ 434 ครั้ง 20,200 คน ข้อมูล ณ 31 ธ.ค. 51

  15. พัฒนาเทคโนโลยีของ SMEจำนวน 2,736 โครงการ ซอฟต์แวร์ 5% ต่างประเทศ 7% การแพทย์และสุขภาพ 6% ที่ปรึกษาอิสระ 8% ภาคเอกชน 9% อาหารและเกษตร 30% อื่นๆ 27% สถาบันการศึกษา/สถาบันวิจัย 62% หน่วยงานภาครัฐ 14% ชิ้นส่วน ยานยนต์ 19% ไม้และเครื่องเรือน 13% ประเภทอุตสาหกรรม แหล่งผู้เชี่ยวชาญ

  16. ITAP สร้างความโดดเด่นของสินค้าและนวัตกรรมของ SMEs • วิจัยและพัฒนาสินค้าใหม่ • ออกแบบและสร้างเครื่องจักรและอุปกรณ์ใหม่ • ปรับปรุงกระบวนการผลิต • พัฒนาระบบมาตรฐานต่างๆ (GMP, HACCP, ISO22000, ISO17025,CMMI ฯ) • การใช้ IT ช่วยการผลิต • การลดต้นทุน การบำรุงรักษาและประหยัดพลังงาน • การจัดการของเสีย และสร้างมูลค่าเพิ่ม • ฯลฯ

  17. ตัวอย่าง โครงการ iTAP

  18. ITAP สนับสนุนพัฒนาระบบการควบคุมคุณภาพในโรงงานผลิตยาสมุนไพร • โจทย์ที่พบ • ต้องการสร้างระบบควบคุมคุณภาพด้านความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร • การช่วยเหลือจาก iTAP • จัดหาผู้เชี่ยวชาญจากม.ศิลปากร คณะวิทยาศาสตร์ในการให้คำแนะนำและวางระบบตรวจวิเคราะห์คุณภาพความปลอดภัยในการผลิตยาสมุนไพรตามมาตรฐาน GMP • ผลที่ได้รับ • บริษัทได้ระบบควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ด้านความปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน บ.แก้วมังกรเภสัช จำกัด จ.ราชบุรี

  19. ITAP สนับสนุนการศึกษาความเป็นไปได้ของการปรับสูตรเนื้อดินของผลิตภัณฑ์ศิลาดล กลุ่มผลิต ผลิตภัณฑ์ศิลาดล อ.นครชัยศรี • โจทย์ที่พบ • ปรับปรุงสูตรดินใหม่ในให้มีสมบัติทนทานต่อ microwave เครื่องล้างจานและมีน้ำหนักเบาขึ้นไม่น้อยกว่า 10 % ของน้ำหนักเดิม (ในความหนาที่คงเดิม) • การช่วยเหลือจาก iTAP • จัดผู้เชี่ยวชาญจากม.ศิลปากร คณะวิศวกรรมศาสต์ (วัสดุ)ในการให้คำแนะนำและศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงสูตรดินให้ได้คุณสมบัติตามต้องการ • ผลที่ได้รับ • ผลิตภัณฑ์มีน้ำหนักเบาขึ้น 10%

  20. ITAP สนับสนุนโครงการสร้างระบบคุณภาพมาตรฐานมอก. บ.กรุงเทพครีเอทีฟวาล์ว จำกัด • โจทย์ที่พบ • ต้องการสร้างระบบควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน มอก. • การช่วยเหลือจาก iTAP • จัดผู้เชี่ยวชาญจากมจธ.แนะนำวิธีการและสร้างระบบคุณภาพให้กับโรงงาน • ผลที่ได้รับ • บริษัทได้การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ด้านสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์ก๊อกน้ำและฝักบัวอาบน้ำ S

  21. ITAP สนับสนุนโครงการระบบผลิตก๊าซชีวภาพพร้อมสรรพสำหรับฟาร์มหมูการพัฒนาต้นแบบและการจัดการ • โจทย์ที่พบ • ต้องการสร้างระบบการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสุกรและน้ำเสียในฟาร์มหมู • การช่วยเหลือจาก iTAP • จัดผู้เชี่ยวชาญจากมจธ.ให้คำปรึกษาด้านการออกแบบและสร้างระบบการผลิตก๊าซชีวภาพโดยใช้เทคโนโลยีแบบ Covered Lagoon • ผลที่ได้รับ • สามารถผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพได้ปีละไม่ต่ำกว่า 2 ล้านบาท • สามารถคืนทุนได้ภายในเวลา 2.5 ปี • นำไปขยายผลต่อ contact farm ทั่วประเทศได้ • กำลังดำเนินโครงการ ระยะที่ 2 บริษัท บี อินเตอร์เนชั่นแนล แอนด์ เทคโนโลยีจำกัด

  22. ITAP สนับสนุนโครงการพัฒนาระบบควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือน บริษัท บี อินเตอร์เนชั่นแนล แอนด์ เทคโนโลยี จำกัด • โจทย์ที่พบ • ต้องการพัฒนาระบบควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือนแบบปิด เพื่อควบคุมอุณหภูมิและความชื้นให้มีสภาพเหมาะสมเพื่อให้ไก่มีการเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่ • การช่วยเหลือจาก iTAP • จัดผู้เชี่ยวชาญจาก มจธ.ให้คำปรึกษาและออกแบบสร้างระบบควบคุมสภาวะอากาศ • ผลที่ได้รับ • ได้เครื่องควบคุมสภาวะอากาศ Ventech

  23. ITAP สนับสนุนโครงการพัฒนาพัดลมสำหรับใช้ในฟาร์มเลี้ยงไก่ บริษัท บี อินเตอร์เนชั่นแนล แอนด์ เทคโนโลยี จำกัด • โจทย์ที่พบ • ต้องการออกแบบและสร้างพัดลมให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้า • การช่วยเหลือจาก iTAP • จัดผู้เชี่ยวชาญจากมจธ.ออกแบบและสร้างพัดลม และทดสอบประสิทธิภาพการทำงาน • ผลที่ได้รับ • ได้พัดลม 3 ใบพัด ซึ่งประหยัดพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น 30 %

  24. ITAP สนับสนุนโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์ คณะบุคคลไทยออร์แกนิค • โจทย์ที่พบ • ต้องการพัฒนาสูตรน้ำจิ้มไก่อินทรีย์ • การช่วยเหลือจาก iTAP • จัดผู้เชี่ยวชาญจาก ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คิดค้นและพัฒนาสูตรน้ำจิ้มไก่อินทรีย์ • ผลที่ได้รับ • ได้สูตรน้ำจิ้มไก้อินทรีย์ • เพิ่มมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ให้แก่ผู้ประกอบการ • ส่งเสริมการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์

  25. ITAP สนับสนุนโครงการพัฒนาสูตรแก้วสีสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องประดับ บริษัท มายด์สโตน จำกัด • โจทย์ที่พบ • ต้องการพัฒนาและสร้างพลอยสังเคราะห์ขึ้นเอง • การช่วยเหลือจาก iTAP • จัดผู้เชี่ยวชาญจาก ม.ราชภัฏนครปฐม คิดค้นและพัฒนาสูตรแก้วสี • ผลที่ได้รับ • ได้สูตรแก้วสีสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมอัญมณี • ลดการนำเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ • กำลังดำเนินการวิจัยอยู่

  26. ทิศทางการสนับสนุนของ iTAP สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในคลัสเตอร์ที่มีศักยภาพสูง สนับสนุนการต่อยอดงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ การจัดทำ แผนที่(ฐานข้อมูล)ความต้องการของภาคเอกชน กับแผนที่ (ฐานข้อมูล)งานวิจัยนวัตกรรม นำไปสู่การจับคู่ธุรกิจนวัตกรรม

  27. iTAP… we care we share & we dare to do ขอบคุณค่ะ ทีม iTAP ยินดีและพร้อมให้บริการทั่วประเทศไทย ทุกเวลาที่คุณต้องการ www.tmc.nstda.or.th/itap

  28. BackUp Information

  29. ขั้นตอนการให้บริการของ iTAP ติดต่อครั้งแรก วิเคราะห์ความต้องการของโรงงาน พัฒนาข้อเสนอโครงการ & ทำสัญญาว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินโครงการให้คำปรึกษาเชิงลึก ผู้เชี่ยวชาญ ติดตามและประเมินผล เบิกเงินสนับสนุน ติดตามผลหลังปิดโครงการ

  30. การสนับสนุนทางการเงินของ iTAP ติดต่อครั้งแรก วิเคราะห์ความต้องการของโรงงาน สนับสนุน ฿ 100% • ค่าตอบแทนผู้เชี่ยวชาญและคณะ • ค่าใช้จ่ายเดินทางของผู้เชี่ยวชาญ พัฒนาข้อเสนอโครงการ & ทำสัญญาว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินโครงการให้คำปรึกษาเชิงลึก สนับสนุน ฿ 50% • 500,000 บาท/โครงการ • 2 โครงการ/ปี/บริษัท • ค่าตอบแทนผู้เชี่ยวชาญและคณะ • ค่าใช้จ่ายเดินทางของผู้เชี่ยวชาญ และคณะ • ค่าวัสดุอุปกรณ์ทดลอง • ค่าวิเคราะห์ทดสอบ • ค่าสืบค้นข้อมูล ฯ ติดตามและประเมินผล เบิกเงินสนับสนุน ติดตามผลหลังปิดโครงการ

  31. แผนที่ (Roadmap) การพัฒนาเทคโนโลยี ปรับปรุงการดำเนินธุรกิจ ของ SMEs จุดมุ่งหมาย มีทักษะ ความรู้และ ขีดความสามารถ มีการบริหารจัดการที่ดี เกิดเครือข่าย มีนวัตกรรม มีความมั่นคง ทางการเงิน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ระยะยาว ระยะเวลา ระยะสั้น ระยะกลาง

  32. หัวใจการทำงานของ iTAP • เป็นกิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยี (ความรู้) จากคนสู่คนผ่านระบบการทำงานเป็นเครือข่าย • เป็นกลไกกิจกรรมที่ดำเนินการโดยเริ่มตั้งต้นโจทย์จากความต้องการของเอกชน และดำเนินการเสาะหาความรู้ที่เหมาะสมมาตอบสนอง • มีบุคลากรที่ทำงานเต็มเวลา และเป็นคนกลางจริงๆโดยมีศิลปะในการทำงานและใช้การจัดการโครงการที่ดี • มีกระบวนการทำงานที่ยืดหยุ่นและคล่องตัว ภายใต้หลักการเดียวกัน • ทุกโครงการของ ITAP“ไม่มีล้มเหลว มีแต่ เกิดทางเลือกใหม่”

  33. บุคลากรที่สำคัญต่อความสำเร็จของ iTAP • ที่ปรึกษาเทคโนโลยี (ITA:(Industrial Technology Advisor) • บทบาทหน้าที่ • ช่วยวิเคราะห์ปัญหาทางเทคนิคเบื้องต้น • สรรหาผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคตามความต้องการของภาคเอกชน • ประสานงานในการติดต่อผู้เชี่ยวชาญและเจรจาตกลงว่าจ้างเป็นที่ปรึกษา • ช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของผู้เชี่ยวชาญ • ช่วยประสานงานในการค้นหาข้อมูลเทคโนโลยี เช่น กระบวนการผลิต เครื่องจักร • เป็นตัวกลางเจรจาในกรณีที่โครงการไม่ดำเนินการเป็นไปตามแผนงาน หรือมีอุปสรรคและปัญหาเกิดขึ้น • ผู้เชี่ยวชาญ (iTAP Expert) • บทบาท • เป็นผู้เชี่ยวชาญในการวินิจฉัยประเมินทางเทคนิคเบื้องต้นในกรณีที่จำเป็น • เป็นผู้เชี่ยวชาญในการดำเนินการตามข้อเสนอโครงการพัฒนาเทคโนโลยี • เป็นผู้เชี่ยวชาญในขั้นตอนตรวจติดตาม และประเมินปิดโครงการ • หน้าที่ • จัดทำข้อเสนอโครงการการพัฒนา/ปรับปรุงด้านเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับความต้องการของเอกชนที่ผ่านการวินิจฉัยแล้ว อย่างเหมาะสมทั้งระยะเวลาและค่าใช้จ่าย • จัดทำรายงานความคืบหน้าและรายงานสรุปผลการดำเนินงาน

  34. ศูนย์บูรณาการเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมไทยศูนย์บูรณาการเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมไทย (Thai Industry Technology Integrating Center:TiTEC)เครือข่ายส่วนภูมิภาค โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย(Industrial Technology Assistance Program : ITAP) สนใจรับบริการติดต่อ Call Center : 02-470-9190 ติดต่อ ITAP ขอบคุณ

More Related