540 likes | 698 Views
แนะนำ. ศึกษาความรู้พื้นฐานและส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม การ Macromedia Dreamweaver สร้างไซต์ การกำหนดค่าเริ่มต้นของโปรแกรมให้ใช้ภาษาไทยได้อย่างสมบูรณ์ การกำหนดตัวอักษร การปรับเปลี่ยนสีพื้นหลังของเว็บเพจ การใช้โปรแกรม webBrowser การบันทึกเว็บเพจ. MACROMEDIA DREAMWEAVER MX. E-LEARNING.
E N D
แนะนำ • ศึกษาความรู้พื้นฐานและส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม การMacromedia Dreamweaverสร้างไซต์ การกำหนดค่าเริ่มต้นของโปรแกรมให้ใช้ภาษาไทยได้อย่างสมบูรณ์ การกำหนดตัวอักษรการปรับเปลี่ยนสีพื้นหลังของเว็บเพจ การใช้โปรแกรม webBrowserการบันทึกเว็บเพจ
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING ทำความรู้จักกับ Macromedia Dreamweaver MX Macromedia Dreamweaver Mx จัดเป็นโปรแกรมสำเร็จรูปอีกโปรแกรมหนึ่งที่เป็นที่นิยมของกลุ่มบุคคลทั่วไปเนื่องจากมีการใช้งานที่ค่อนข้างง่ายและไม่ซับซ้อนมากนัก โปรแกรม Macromedia Dreamweaver เป็นโปรแกรมสร้างเอกสารเว็บที่ทำงานในลักษณะ HTML Generator คือ โปรแกรมจะสร้างรหัสคำสั่ง HTML ให้อัตโนมัติ โดยผู้ใช้ไม่ต้องศึกษาภาษา HTML หรือป้อนรหัสคำสั่ง HTML มีลักษณะการทำงานคล้ายๆ กับการพิมพ์เอกสารด้วย Word Processor อาศัยปุ่มเครื่องมือ (Toolbars) หรือแถบคำสั่ง (Menu Bar) ควบคุมการทำงาน ช่วยให้ง่ายต่อการใช้งาน สะดวก และรวดเร็ว << >>
คำชี้แจงบทเรียน • ทำแบบทดสอบก่อนเรียน • ศึกษาเนื้อหา บทเรียน ทั้งหมดให้ครบ • ทำแบบทดสอบหลังเรียน
วัตถุประสงค์บทเรียน • จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม2. เพื่อให้มีทักษะในการและเข้าใจการใช้งานเครื่องต่าง ๆ ของโปรแกรม3. เพื่อให้มีทักษะและเข้าในการสร้างเว็บไซต์เบื้องต้น
รายการเมนูหลัก(สาระการเรียนรู้)รายการเมนูหลัก(สาระการเรียนรู้) • การเข้าใช้โปรแกรม Macromedia Dreamweaver • ส่วนต่างๆ ของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver • ตั้งค่าให้ Macromedia Dreamweaverใช้ภาษาไทยได้ • มุมมองการทำงานใน Macromedia Dreamweaver • การกำหนดค่าเว็บไซต์ใหม่ • เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ • การสร้างเส้นคั่นระหว่างบรรทัด • การเปลี่ยนสีพื้นหลังของเว็บ • การชมเว็บผ่านทาง web Browser • การบันทึกเว็บเพจ
Pretest • ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
เนื้อหาบทเรียน • การเข้าใช้โปรแกรม Macromedia Dreamweaver • ส่วนต่างๆ ของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver • ตั้งค่าให้ Macromedia Dreamweaverใช้ภาษาไทยได้ • มุมมองการทำงานใน Macromedia Dreamweaver • การกำหนดค่าเว็บไซต์ใหม่ • เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ • การสร้างเส้นคั่นระหว่างบรรทัด • การเปลี่ยนสีพื้นหลังของเว็บ • การชมเว็บผ่านทาง web Browser • การบันทึกเว็บเพจ
สื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน E-LEARNING เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มศึกษาการใช้งานโปรแกรมในระดับพื้นฐาน
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • ขั้นตอนการเปิดใช้งานโปรแกรม Marcromedia Dreamweaver MX ในการเข้าไปใช้โปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX นั้นสามารถทำได้ 2 วิธีการคือ 1. เข้าเปิดโปรแกรมจาก Shortcut Icon จาก Desktop โดยจากDouble Click ที่ไอคอนของโปรแกรม
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING 2. การเข้าโปรแกรมผ่านทาง Taskbar โดยไปที่ Start All Program Marcromedia Macromedia Dreamweaver MX << >>
E-LEARNING MACROMEDIA DREAMWEAVER MX • ส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX 1 2 3 4 6 7 5 << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • ส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX หมายเลข 1 แถบ Title Bar ทำหน้าในการบอกชื่อโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ ชื่อไฟล์เว็บเพจที่กำลังทำออกแบบหรือแก้ไขอยู่ รวมถึงแถบรายการควบคุมหน้าต่างงานด้วย << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • ส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX หมายเลข 2 แถบเมนูบาร์ เป็นแถบที่รวบคำสั่งที่ใช้ในการสร้างเว็บไซต์ที่สำคัญต่าง ๆ ต่อการออกแบบเว็บไซต์ ประกอบด้วย File , Edit , View , Insert , Modify , Text , Commands , Site , Windows และ Help หมายเลข 3 แถบทูลบาร์แหล่งรวมเครื่องมือต่าง ๆ ที่จำเป็นในการสร้างเว็บไซต์ รวมถึงเป็นคำสั่งที่มีการใช้งานที่บ่อย ช่วยลดระยะเวลาในการเลือกใช้คำสั่งจากแถบเมนูบาร์ << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • ส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX หมายเลข 4 หน้าต่างเว็บเพจ (Document Window) เป็นพื้นที่ที่ใช้ในการออกแบบและสร้างเว็บเพจ รวมถึงการออกแบบและแก้ไขหน้าเว็บเพจ << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • ส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX หมายเลข 5 แถบควบคุมค่าการทำงาน (PropertiesInspector) ทำหน้าที่ในการตั้งค่ากำหนดต่าง ๆ ของข้อความ วัตถุ เป็นต้น หมายเลข 6 แถบสถานการทำงาน (Status Bar) เป็นส่วนที่บอกถึงการทำงานต่าง ๆ ที่เรากำลังทำงานอยู่ว่ากำลังทำงานอยู่ในส่วนใดบ้าง ๆ << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • ส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX หมายเลข 7 แถบกลุ่มงานพาเนล (Panal Group) เป็นส่วนที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการจัดการกับการออกแบบ แก้ไข และพัฒนาหน้าเว็บเพจ << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • ตั้งค่าให้ Dreamweaver ให้ใช้งานภาษาไทยได้อย่างไม่มีปัญหา 1. ไปที่เมนูบาร์คลิกที่ Edit เลือก Preferences หรือกดคีย์ลัด คือ Ctrl + U << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • ตั้งค่าให้ Dreamweaver ให้ใช้งานภาษาไทยได้อย่างไม่มีปัญหา 2. หลังจากนั้นจะเกิดหน้าต่าง Preferences ให้เลือกหัวข้อ Fonts ทางด้านขวามือจะปรากฏกรอบ Fonts ขึ้น ในหัวข้อ Font Setting เลือก Thai Windows 874 แล้วตั้งค่าแบบอักษรดังภาพส่วนขนาดของอักษรเลือกได้ตามใจชอบ << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • ตั้งค่าให้ Dreamweaver ให้ใช้งานภาษาไทยได้อย่างไม่มีปัญหา 3. หลังจากนั้นให้ไปที่หัวข้อ New Document ในกรอบทางด้านซ้ายมือในหัวข้อ Default Encoding ให้เป็นหัวข้อ Thai Windows-874 แล้วคลิกปุ่ม OK เพียงเท่านี้เราก็สามารถเปิดโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX แล้วสามารถใช้งานภาษาได้ตามปกติ << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • มุมมองการทำงานใน Macromedia Dreamweaver MX มุมสำหรับการทำงานในการออกแบบเว็บไซต์นั้นในโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX นั้นผู้ใช้สามารถเลือกมุมการทำงานได้ 3 รูปแบบการทำงานได้ตามความใจชอบ 1. มุมมอง CODE VIEW เป็นมุมมองแสดง CODE ภาษาของการสร้างเว็บไซต์ รวมถึงสริปต์ต่าง ๆ ตามที่เราได้ทำการออกแบบเว็บไซต์ไว้ เหมาะสำหรับผู้ที่มีความชำนาญต่อการเขียน CODE ภาษาต่าง ๆ วิธีการใช้งานมุมมองCODW VIEW ทำได้โดยการคลิกที่ไอคอน หรือไปที่เมนูบาร์เลือก View เลือก CODE หน้าจอ Document View จะเปลี่ยนเป็นผลลัพธ์ดังภาพ << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • มุมมองการทำงานใน Macromedia Dreamweaver MX 2. มุมมอง CODE AND Design เป็นมุมมองที่แสดง CODE ภาษาพร้อมกับหน้าเว็บเพจที่เรากำลังทำงานอยู่ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาการทำงานของการเขียน CODE ภาษา โดยผู้ใช้สามารถเลือกทำงานได้ทั้งสองส่วน วิธีการใช้งานมุมมอง CODE AND VIEW โดยคลิกที่ไอคอน หรือไปที่แทบเมนูบาร์แล้วเลือกหัวข้อ View เลือก CODE AND DESIGN จะได้ผลลัพธ์ดังรูป << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • มุมมองการทำงานใน Macromedia Dreamweaver MX 3. มุมมอง Design View เป็นมุมมองที่เหมาะแก่ผู้ที่ไม่มีความรู้ในเรื่องของการเขียน CODE ภาษา เป็นมุมมองที่ใช้งานง่ายเพราะผู้ใช้งานแค่จัด ตกแต่ง ออกแบบ แก้ไข ในแต่ละหน้าหน้าเว็บเพจเท่านั้น โปรแกรม Marcromedia Dreamweaver MX จะทำการเขียน CODE ภาษาให้เราอัตโนมัติ วิธีการใช้มุมมอง Design View เพียงแค่คลิกที่ไอคอน หรือไปที่แถบเมนูบาร์ View แล้วเลือก Design View แล้วจะได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ << >>
MACROMEDIA DREAMWEAVER MX E-LEARNING • การออกจากโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX การออกจากโปรแกรม Marcromedia Dreamweaver MX นั้นทำได้โดยการไปที่เมนูบาร์เลือก File ตามด้วย Exit โดยจะเป็นการสิ้นสุดการใช้งานโปรแกรม นอกจากนั้นผู้ใช้งานยังสามารถเลือกขั้นตอนการออกจากโปรแกรมได้อีก 3 วิธีการคือ 1. คลิกเม้าส์ที่ไอคอน บริเวณมุมบนด้านขวาของโปรแกรม 2. คลิกเม้าส์ที่ไอคอน บริเวณแถบ Title Bar แล้วเลือก Close 3. กดคีย์ลัด คือ CTRL+Q << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING เราสามารถสร้างเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX โดยเริ่มจากการกำหนดโครงสร้างเว็บไซต์ โดยการกำหนดโครงร่างเว็บไซต์รเราอาจทำการร่างลงในกระดาษก่อนอย่างง่าย โดยเริ่มจากหน้าหลักของเว็บไซต์ตามด้วยหน้าต่าง ๆ ที่เกิดจากจุดเชื่อมโยงภายในหน้าหลักเชื่อมต่อออกไปอีกเรื่อย ๆ ตัวอย่างดังรูป E.HTML F.HTML A.HTML WWW.BYBYE.COM G.HTML B.HTML INDEX.HTML Y.HTML V.HTML D.HTML >> <<
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การกำหนดเว็บไซต์ใหม่ใน Dreamweaver MX ในการสร้างเว็บไซต์นั้นจะเป็นการกำหนดโฟลเดอร์ที่ใช้ในการเก็บไฟล์เว็บเพจของเราที่จะทำการสร้างขึ้น โดยมีขั้นตอนการกำหนดเว็บไซต์ดังต่อไปนี้ 1. คลิกที่เมนูบาร์เลือก Site แล้วเลือก New Site เพื่อเข้าสู่การสร้างโฟลเดอร์ที่ใช้ในการเก็บเว็บไซต์ << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การกำหนดเว็บไซต์ใหม่ใน Dreamweaver MX 2. หลังจากปรากฏกรอบหน้าต่าง Site Definition for Unnamed Site ขึ้น ให้เราใส่ชื่อเว็บไซต์ของเราลงในช่อง เป็นภาษาอังกฤษ แล้วคลิก NEXT << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การกำหนดเว็บไซต์ใหม่ใน Dreamweaver MX 3. หลังจากนั้นเลือกตอบหัวข้อ No, I do not want to use a sever technology….. แล้วคลิกที่ Next << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การกำหนดเว็บไซต์ใหม่ใน Dreamweaver MX 4. ในหัวข้อ How do you want to work with your files during ….. ให้เลือกตอบในหัวข้อ Edit local coppies on my machine 5. หลังนั้นในเรากำหนดสถานที่ที่เราต้องการเก็บเว็บไซต์ในหัวข้อ Where on your computer do you want to store your file? โดยคลิกที่ไอคอน โดยเมื่อเลือกโฟลเดอร์ที่จะจัดเก็บเว็บไซต์ได้แล้วให้เลือกหัวข้อ Select หลังจากนั้นคลิก Next << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การกำหนดเว็บไซต์ใหม่ใน Dreamweaver MX 6. จากนั้นในหัวข้อ How do you connect to your remote sever? ให้เลือกตอบเป็นรูปแบบ None แล้วคลิก NEXT << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การกำหนดเว็บไซต์ใหม่ใน Dreamweaver MX 7. หลังจากนั้นจะเป็นการแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ของเว็บไซต์ของเราตามที่เราได้ทำการตั้งค่าไว้ เมื่ออ่านรายละเอียดแล้วก็ให้คลิกที่ DONE << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การกำหนดเว็บไซต์ใหม่ใน Dreamweaver MX 8. หลังจากนั้นเราก็สามารถที่จะสร้างเว็บไซต์ได้ตามปกติแล้ว แต่ในครั้งต่อไปหากต้องการเข้ามาสร้างเว็บไซต์ในเว็บไซต์เดิมอีกต้องเลือกคำสั่ง Site ไปที่ Edit Site จะปรากฏกรอบหน้าต่าง Edit Site ขึ้นให้เราเลือกชื่อเว็บไซต์ของเราแล้วทำการคลิกที่ปุ่ม Done เพียงเท่านี้เราก็สามารถสร้างเว็บไซต์ของเราบนเว็บไซต์เดิมได้แล้ว << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ด้วยการจัดการกับตัวอักษรอย่างง่าย ๆ 1. พิมพ์ข้อความตามที่ต้องการบนพื้นที่การออกแบบ (Document View) หลังจากนั้นให้ทำการคลุมดำข้อความในบริเวณที่ต้องการปรับแต่งข้อความ 2. จากนั้นให้เราไปที่แถบเครื่องมือ Properties Pallete เพื่อทำการกำหนดค่าต่าง ๆ ของตัวอักษรหรือข้อความของเราที่ต้องการปรับแต่ง โดยแต่ละส่วนจะทำหน้าที่ต่างกันดังต่อไปนี้ << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ด้วยการจัดการกับตัวอักษรอย่างง่าย ๆ 1. Format ใช้ในการกำหนดรูปแบบตัวอักษรสำเร็จให้กับข้อความ เช่น None คือไม่กำหนดรูปแบบตัวอักษร , Paragraph คือ การกำหนดข้อความในย่อหน้าใหม่ , Heading 1-6 โดย Heading 1 จะเป็นขนาดอักษรตัวใหญ่สุดและลดลั่นลงมา 2. Font เป็นการกำหนดรูปแบบตัวอักษรต่าง ๆ นอกจากนี้การกำหนดรูปแบบตัวอักษรนั้นยังช่วยในเรื่องการทดแบบอักษร หากคุณเลือกแบบอักษร Arial , Helvetica , Sans-serif หมายความว่า หากมีผู้เปิดเว็บไซต์ชมแล้วไม่มีแบบอักษร Arial ก็สามารถใช้แบบอักษร Helvetica หรือ Sans-serif ได้ << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ด้วยการจัดการกับตัวอักษรอย่างง่าย ๆ 3. Size เป็นส่วนที่ใช้ในการกำหนดขนาดของตัวอักษร โดยผู้ใช้จะสามารถที่จะกำหนดขนาดตัวอักษรได้ตามความต้องการ 4. Color เป็นการกำหนดสีตัวอักษร โดยผู้ใช้สามารถกำหนดสีตัวอักษรได้ตามความต้องการ โดยจะมีกรอบด้านขวามือเล็ก ๆ เพื่อบอกค่าของสีตามที่เราได้ทำการเลือกไว้ << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ด้วยการจัดการกับตัวอักษรอย่างง่าย ๆ 5. ใช้สำหรับกำหนดลักษณะของตัวอักษรตามที่เราต้องการตามรูป เช่น ตัวหนา ตัวเอียง จัดกึ่งกลาง ชิดซ้าย ชิดขวา จัดย่อหน้าตัวอักษร โดยแต่ส่วนมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ ใช้สำหรับกำหนดลักษณะตัวอักษรให้เป็นตัวหนา ใช้สำหรับกำหนดลักษณะตัวอักษรให้เป็นตัวเอียง ใช้สำหรับกำหนดการจัดวางตำแหน่งตัวอักษรให้ชิดขอบซ้าย ใช้สำหรับกำหนดการจัดวางตำแหน่งตัวอักษรให้อยู่กึ่งกลางหน้าเว็บเพจ ใช้สำหรับพิมพ์ข้อความชนิดเสมอกั้นหน้าและกั้นหลัง << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ด้วยการจัดการกับตัวอักษรอย่างง่าย ๆ Bullet เพื่อกำหนดตัวเลขกำกับในแต่ละบรรทัดอักษรหรือใส่หัวข้อให้กับข้อความ ใช้สำหรับจัดย่อหน้าในแต่บรรทัดของตัวอักษรคล้ายกับการตั้งค่า TAB << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การสร้างเส้นคั่นระหว่างบรรทัด (Horizontal Rule) การใช้เส้นคั่นทางแนวนอนนั้น จะช่วยแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วน ๆ ทำให้อ่านได้ง่าย การสร้างเส้นคั่นในแนวนอนทำได้โดยการคลิกที่ไอคอน จากแถบเมนูบาร์ หรือเลือกใช้คำสั่ง Insert จากแถบเมนูบาร์จากนั้นเลือกไปที่ Horizontal Rule ผลลัพธ์ที่ได้คือ << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การสร้างเส้นคั่นระหว่างบรรทัด (Horizontal Rule) นอกจากนี้เรายังสามารถที่จะกำหนดค่าต่าง ๆ ของเส้นคั่นระหว่างบรรทัดได้อีกด้วย จากแถบเครื่องมือ Property Inspector 1. โดยเริ่มแรกนั้นให้เราทำการคลิกที่เส้นคั่นระหว่างบรรทัด ที่เส้นคั่นระหว่างบรรทัดจะมีแถบสีดำเกิดขึ้นคล้ายการคลุมดำ 2. หลังจากนั้นที่แถบเครื่องมือ Properties จะมีการเปลี่ยนเป็นรูปแบบการตั้งค่าของเส้น Horizontal Rule ดังภาพ << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การสร้างเส้นคั่นระหว่างบรรทัด (Horizontal Rule) 3. โดยผู้งานสามารถกำหนดและตั้งค่าต่าง ๆ ได้ดังต่อไปนี้ ความยาวของเส้นคั่นเป็นแบบ % หรือ Pixels ใช้สำหรับกำหนดความยาวของเส้นบรรทัด ใช้สำหรับกำหนดตำแหน่งเส้นคั่นหน้าในเว็บเพจ ใช้สำหรับกำหนดความสูงของเส้น ใช้สำหรับกำหนดชื่อให้เส้นคั่นระหว่างบรรทัด ใช้สำหรับกำหนดเส้นคั่นเป็นแบบธรรมดาหรือหนาทึบ << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การเปลี่ยนสีพื้นหลังของเว็บเพจ สำหรับขั้นตอนการเปลี่ยนสีพื้นหลังของเว็บนั้น มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ไปที่แถบเครื่องเมนูบาร์ Modify เลือก Page Properties หรือคลิกขวาบนพื้นที่การออกแบบเลือก Properties นอกนี้ผู้ใช้งานยังสามารถกดคีย์ลัดได้คือ CTRL+J R OR << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การเปลี่ยนสีพื้นหลังของเว็บเพจ 2. หลังจากนั้นจะปรากฏกรอบหน้าต่าง Page Properties หลังนั้นให้ผู้ใช้งานไปที่หัวข้อ Background เพื่อทำการเลือกสีพื้นหลังของเว็บเพจ เมื่อผู้ใช้งานเลือกสีที่ต้องการได้แล้วให้คลิกปุ่ม OK เพียงนี้สีพื้นหลังของหน้าเว็บเพจก็จะเปลี่ยนเป็นที่ผู้ใช้ได้เลือกใช้งานแล้ว << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การชมการออกแบบเว็บไซต์ผ่านทาง WebBrowser หากผู้ใช้งานได้ทำการออกแบบเว็บไซต์ไว้แล้วและต้องการที่จะชมผลงานผ่านทางหน้า Web Browser เพียงแค่ผู้ใช้ทำการกดปุ่ม F12 บนคีย์บอร์ดเพียงเท่านี้ผู้ใช้งานก็สามารถชมผลงานที่ได้ออกแบบไว้ผ่านทางหน้าเว็บเพจได้แล้ว F12 << >>
เริ่มใช้งาน Macromedia Dreamweaver MX E-LEARNING • การบันทึกเว็บเพจ ( SAVE WEBPAGE) 1. ในการบันทึกหน้าเว็บเพจนั้นผู้ใช้สามารถที่จะบันทึกหน้าเว็บเพจโดยการไปที่เมนูบาร์ File แล้วเลือก Save As หรือกดคีย์ลัด Ctrl + Shift + S หลังจากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Save As ขึ้นมา 2. หลังนั้นให้ผู้ใช้งานทำการตั้งชื่อในเว็บเพจในช่อง File Name หลังจากนั้นคลิกที่ปุ่ม Save อีกครั้งเพียงเท่านี้ผู้ใช้ก็สามารถบันทึกหน้าเว็บเพจได้เรียบร้อยแล้ว << >>
แบบฝึกหัด • 1. ภาษาใดเป็นภาษาพื้นฐานในการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ • 2.ขั้นตอนแรกของการเปลี่ยนสีตัวอักษรจะต้องทำสิ่งใดเป็นสิ่งแรก • 3.แถบเครื่องมือ Properties Inspecter มีประโยชน์อย่างไร • 4.ในการสร้างเส้นคั่นระหว่างบรรทัดแนวนอน มีขั้นตอนการสร้างอย่างไร • 5.โปรแกรม Macromedia Dreamweaver จัดเป็นโปรแกรมประเภทใด
Post-Test • ทำแบบทดสอบหลังเรียน
สรุปเนื้อหาบทเรียน การกำหนดค่าเริ่มต้นในการใช้โปรแกรม Macromedia Dreamweaver เพื่อที่จะสร้างเว็บไซต์ โดยต้องเรียนรู้หน้าที่และหลักการทำงานของเครื่องมือต่าง ๆ ของโปรแกรม ก่อนที่จะสร้างหน้าเว็บเพจ อย่างเช่น การกำหนดให้ใช้ภาษาไทยได้ การสร้างไซต์ การทำงานในมุมมองต่าง ๆ การสร้างเส้นคั่นระหว่างบรรทัดการปรับเปลี่ยนสีพื้นหลัง การใช้โปรแกรม web Browser
บรรณานุกรม - พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร.ออกแบบและสร้างเว็บสวยด้วย Dreamweaver 8.สำนักพิมพ์ซัคเซสมีเดีย.กรุงเทพมหานคร.2548 - เฉลิมพล ทัพซ้าย,อาจารย์.มือใหม่หัดสร้างเว็บไซต์.บริษัท 3495 บุ๊คเซ็นเตอร์ จำกัด.2546
คำขอบคุณ ขอขอบพระคุณอาจารย์ท่านวิทยากร และผู้ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการจัดทำสื่อการเรียนการสอนวิชา พิมพ์ดีดอังกฤษ1 จงประสบความสำเร็จเพื่อเป็นแนวทางในการเรียนการสอนของนักเรียนให้น่าสนใจ และมีความเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนนี้ได้ดียิ่งขึ้น ผู้จัดทำ อาจารย์พิชิตชัย แสวงพิทยารัตน์
ผู้จัดทำ- คำนิยม สื่อการเรียนการสอนที่จัดทำขึ้นครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการเรียนการสอนไม่ได้ผลิตไว้เพื่อจำหน่ายหากมีข้อสงสัยในสื่อการเรียนการสอนนี้ให้ติดต่อผู้จัดทำ Email:phichit9@gmail.com