340 likes | 527 Views
The Mahidol University Dental Quality Development Sector (MUDQD). Surakit Visuttiwattanakorn. นโยบายการพัฒนาคุณภาพ ของ มหาวิทยาลัยมหิดล.
E N D
The Mahidol University Dental Quality Development Sector (MUDQD) SurakitVisuttiwattanakorn
นโยบายการพัฒนาคุณภาพ ของ มหาวิทยาลัยมหิดล 1.มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสู่วิสัยทัศน์ และเป้าหมายของมหาวิทยาลัยชี้นำสังคมไทยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนมีส่วนร่วมส่งเสริมการสร้างสุขภาวะของชุมชน 2. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการดำเนินงานของสำนักงาน/คณะ/สถาบัน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยเทียบเคียงกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกในระดับเดียวกันหรือที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สำนัก/คณะ/สถาบัน พัฒนาระบบการบริหารงานประจำสู่งานวิจัย และสร้างสรรค์นวัตกรรม 4. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ การสร้างเครือข่ายหรือชุมชนแนวปฏิบัติ ( CoP ) ทั้งภายในและภายนอกหมาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศ และสร้างสรรค์นวัตกรรม 5. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันอย่างกว้างขวางในมหาวิทยาลัยอย่างเปิดเผย เป็นกัลยาณมิตร และมุ่งสู่โลกาภิวัฒน์ 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สำนัก/คณะ/สถาบัน จัดวางระบบกำกับ ติดตามและประเมินผลการประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยและมาตรฐานสากลอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
นโยบายการพัฒนาคุณภาพ ของ มหาวิทยาลัยมหิดล 1.มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสู่วิสัยทัศน์ และเป้าหมายของมหาวิทยาลัยชี้นำสังคมไทยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนมีส่วนร่วมส่งเสริมการสร้างสุขภาวะของชุมชน 2. พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการดำเนินงานของสำนักงาน/คณะ/สถาบัน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องโดยเทียบเคียงกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกในระดับเดียวกันหรือที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สำนัก/คณะ/สถาบัน พัฒนาระบบการบริหารงานประจำสู่งานวิจัย และสร้างสรรค์นวัตกรรม 4. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ การสร้างเครือข่ายหรือชุมชนแนวปฏิบัติ ( CoP ) ทั้งภายในและภายนอกหมาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศ และสร้างสรรค์นวัตกรรม 5. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันอย่างกว้างขวางในมหาวิทยาลัยอย่างเปิดเผย เป็นกัลยาณมิตร และมุ่งสู่โลกาภิวัฒน์ 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สำนัก/คณะ/สถาบัน จัดวางระบบกำกับ ติดตามและประเมินผลการประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยและมาตรฐานสากลอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
นโยบายการพัฒนาคุณภาพ ของ มหาวิทยาลัยมหิดล 1.Mahidol University strategy 2. CQI + Benchmark + Best Practice 3. R2R ( Routine to Research ) 4. KM + CoP 5. Web base communication/community 6. SAR
SAR คือ อะไร Self Assessment Report กลไกวัดผล-แสดงผลการปฏิบัติงานชนิดหนึ่ง ที่มีการกำหนดมาตรฐานด้านต่างๆที่ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดประเภทของงาน-โครงการต่างๆที่องค์กรปฏิบัติ
การปรับนโยบายและกลยุทธการปรับนโยบายและกลยุทธ การปรับแผนการปฏิบัติงาน ระบบประกันคุณภาพ ( Quality Assessment ) SAR การปฏิบัติ ( Practice ) นโยบาย และกลยุทธ ( Strategy and KPI)
มาตรฐาน 5 ด้าน ที่ มหาวิทยาลัยมหิดล กำหนดเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพขององค์กร MUQD • การบริหาร • การศึกษา • การวิจัย • การบริการวิชาการ • การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
กลไกของการดำเนินการของแต่ละมาตรฐานกลไกของการดำเนินการของแต่ละมาตรฐาน P D C A P D C A P D C A P D C A P D C A P D C A P D C A
กลไกของการดำเนินการของแต่ละองค์ประกอบกลไกของการดำเนินการของแต่ละองค์ประกอบ P = Plan : ต้องมีการจัดทำแผนการดำเนินการ D = Do : ต้องมีการปฏิบัติที่ดำเนินการตามแผนการ C = Check : ต้องมีการประเมินผลการปฏิบัติ ที่ดำเนินการตามแผนการ A = Act : ต้องมีการนำผลการประเมิน ไปปรับแผนการดำเนินการที่ผ่านมา
P ( plan ) A ( Act ) D ( Do ) C ( Check ) Circle of Quality
Continuous Quality Improvement ( CQI ) Circle of Quality 3 Circle of Quality 2 Circle of Quality 1
Best of Practice CQI Q Q Q
SAR มีประโยชน์หรือ? กลไกวัดผล-แสดงผลการปฏิบัติงานชนิดหนึ่ง ที่มีการกำหนดมาตรฐานด้านต่างๆที่ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดประเภทของงาน-โครงการต่างๆที่องค์กรปฏิบัติ
SAR มีประโยชน์หรือ? • การปฏิบัติงานขององค์กร • ยุทธศาสตร์ ( Strategic ) • KPI
SAR มีประโยชน์หรือ? • การปฏิบัติงานขององค์กร • ยุทธศาสตร์ ( Strategic ) • KPI ระดับของผลสำเร็จของการปฏิบัติงาน-โครงการ
ระดับความสำเร็จด้านกระบวนการการปฏิบัติงานระดับความสำเร็จด้านกระบวนการการปฏิบัติงาน • มีแผนหรือแนวทางในการดำเนินงาน ( Plan ) • มีการดำเนินงานตามแผนอย่างเป็นรูปธรรม ( Do ) • มีการประเมินผลการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ( Check ) • มีผลการดำเนินงานมาจัดทำมาตรฐานที่ปฏิบัติได้สม่ำเสมอ ( Act ) • มีการปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ( Continuous Improvement ) • มีการพัฒนางานจนเกิดรูปแบบการทำงานแนวใหม่หรือนวัตกรรม ( Breakthrough / innovation ) • มีการดำเนินงานที่เป็นเลิศ ( Best Practice )
ระดับความสำเร็จด้านผลลัพธ์การปฏิบัติงานระดับความสำเร็จด้านผลลัพธ์การปฏิบัติงาน • ไม่มีการรายงานผลหรือผลลัพธ์ไม่ตรงกับแผนงานและเป้าหมาย ( No/Inaccurate ) • มีการรายงานผลลัพธ์หรือเครื่องชี้วัดที่ตรงกับแผนงานและเป้าหมาย ( On Target ) • ผลลัพธ์ของการดำเนินงานดีกว่าเป้าหมาย ( Above Target ) • ผลการปฏิบัติที่ต่อเนื่องแสดงแนวโน้มของผลลัพธ์ที่ดีขึ้น ( Upward Trend ) • ผลลัพธ์สามารถเทียบเคียงในระดับภายในประเทศ ( Benchmark : in bound ) • ผลลัพธ์สามารถเทียบเคียงในระดับทวีปเอเชีย ( Benchmark : Asia ) • ผลลัพธ์สามารถเทียบเคียงในระดับนานาชาติ ( Benchmark : International/Global )
ปัญหาการจัดทำ SAR เบื่อหน่าย ขาดความเข้าใจ สับสน เสียเวลา ยาก มักเปลี่ยนรูปแบบ ก็ไม่มีผลอะไร ทำ-ไม่ทำก็ไม่แตกต่าง
ต้นเหตุของปัญหาการจัดทำ SAR องค์กรปฏิบัติงานโดยขาดแผนงาน องค์กรปฏิบัติงานโดยขาดการบันทึก จัดทำเอกสารประกอบการปฏิบัติงาน องค์กรปฏิบัติงานโดยไม่มีการประเมิน
การแก้ไขปัญหาการจัดทำ SAR จัดทำแผนงานทุกด้านตามมาตรฐานคุณภาพ จัดเก็บเอกสารโครงการ แผนงานประจำ ตามมาตรฐานคุณภาพ ประเมินผลปฏิบัติงานทุกโครงการและจัดทำ-จัดเก็บเอกสารตามมาตรฐาน ประชุมนำผลการประเมินมาปรับแผนในระยะต่อเนื่อง
Best of Practice CQI Q Q Q
ประธานมาตรฐาน ด้านทำนุบำรุง ศิลปและวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ประธานมาตรฐาน การศึกษา หัวหน้าภาควิชา/ หัวหน้าหน่วยงาน - ประธานมาตรฐานด้านบริหาร ประธานมาตรฐาน บริการวิชาการ ประธานมาตรฐานด้านวิจัย รูปแบบการบริหารงานตามแนว SAR
Role of MUDQD Plan : ร่วมวางแผนและนโยบาย Do : อบรม KM Check : ประเมินและ ประกันคุณภาพ 4. Act : เสนอผลการประเมิน เพื่อปรับแผนและนโยบาย
การศึกษา ศูนย์กาญจนาภิเษก ภาควิชา/หน่วยงาน วิเทศสัมพันธ์ โรงพยาบาล การบริหาร แผนและนโยบาย วิชาการ วิจัย MUDQD ทรัพยากรบุคคล ประชาสัมพันธ์ โครงการพิเศษฯ สารสนเทศและ IT รูปแบบการบริหารงานของ MUDQD
Project Project Project Project Project Project Project Project Project Project Project Project Project Quality Assessment Best of Practice
Projects to develop QA in MUDT • โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพแนวรุก • โครงการสืบค้นปัญหาสำหรับผู้ปฏิบัติแนวรุก • โครงการอบรมความรู้เพื่อการปฏิบัติ • ( Knowledge management) • 4. โครงการรวมใจปฏิคมคณะทันตฯมหิดล • เพื่อการประกันคุณภาพ
โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพแนวรุกโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพแนวรุก โครงการ ทำ SAR อย่างไรไม่น่าเบื่อ โครงการ “สาวสวย ช่วยเขียน SAR”
2. โครงการสืบค้นปัญหาสำหรับผู้ปฏิบัติแนวรุก โครงการ รู้ปัญหา รู้แนวแก้ไข ใช้พัฒนา โครงการประสานใจแก้ไขงานบริหาร
3. โครงการอบรมความรู้เพื่อการปฏิบัติ ( Knowledge management) โครงการ อบรมความรู้ในงานปฏิบัติเป็นหนึ่งเดียว โครงการ อบรมเจตคติในงานเพื่อความเป็นเลิศ โครงการร่วมการศึกษาต่อเนื่องฯ ( MUDKM+MDEC)
4. โครงการรวมใจปฏิคมคณะทันตฯมหิดล เพื่อการประกันคุณภาพ โครงการ รวมใจปฏิคม เพื่อคุณภาพ โครงการ พัฒนาการสื่อสารระหว่างปฏิคม
โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพแนวรุกโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพแนวรุก โครงการ ทำ SAR อย่างไรไม่น่าเบื่อ โครงการ “สาวสวย ช่วยเขียน SAR” • ประชุมปรับแนวการทำงานในกลุ่มผู้บริหาร ให้ดำเนินการอย่างสอดคล้องกับแนว SAR • อบรมความรู้ความเข้าใจแนวใหม่ เกี่ยวกับการทำ SAR อย่างเรียบง่ายแต่ได้ผลงาน • ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องโดยตรงในการจัดทำ SAR ของทุกหน่วยงาน ให้เป็นหนึ่งเดียว • ดำเนินการเก็บข้อมูล SAR อย่างต่อเนื่องตลอดปี โดยกลุ่ม สาวสวย ช่วยเขียน SAR จะ • เข้าเยี่ยมเยียนภาควิชาฯ กลุ่มงานฯ หน่วยงานฯ ที่ได้รับการอบรมความรู้ใหม่แล้ว • ให้สามารถ เขียนรวบรวมผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ชี้วัดของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง • และไม่เป็นภาระงานที่หนักเกินไป
2. โครงการสืบค้นปัญหาสำหรับผู้ปฏิบัติแนวรุก โครงการ รู้ปัญหา รู้แนวแก้ไข ใช้พัฒนา โครงการ ประสานใจแก้ไขงานบริหาร • จัดตั้งกลุ่มผู้สำรวจข้อมูลปัญหาพื้นฐานแนวรุกในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติทุกระดับ • นำข้อมูลทั้งขาเข้าและขาออก มารวบรวม จัดกลุ่ม และประเมินปัญหา • นำเสนอข้อมูลสู่ผู้บริหารระดับสูงสุด เพื่อพิจารณาปรับแนวนโยบายอย่างตรงจุด • ออกแนวทางปฏิบัติงานแนวใหม่ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติ • ทำการประเมินผลการปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติงาน • ปรับแผนการบริหารงานอย่างต่อเนื่อง
3. โครงการอบรมความรู้เพื่อการปฏิบัติ ( Knowledge management) โครงการ อบรมความรู้ในงานปฏิบัติเป็นหนึ่งเดียว โครงการ อบรมเจตคติในงานเพื่อความเป็นเลิศ โครงการร่วมการศึกษาต่อเนื่องฯ ( MUDKM+MDEC)
โครงการ อบรมความรู้ในงานปฏิบัติเป็นหนึ่งเดียว โครงการ อบรมเจตคติในงานเพื่อความเป็นเลิศ โครงการร่วมการศึกษาต่อเนื่องฯ (MUDKM+MDEC) • สำรวจผู้ปฏิบัติที่เป็น Best of Practice ภายในคณะทันตแพทย์ฯมหิดล • ศึกษาระบบการทำงานในกลุ่มปฏิบัติงานระดับ Best of Practice • เสนอกลุ่มปฏิบัติงานเป็นกลุ่มปฏิบัติงานตัวอย่าง เพื่อเป็นแนวทางปรับกลุ่มงาน • ที่ปฏิบัติงานเดียวกัน ให้มีคุณภาพเป็นหนึ่งเดียว ( unity-uniform-universal) • อบรมความรู้เพื่อการปฏิบัติงานของแต่ละประเภท ให้ครบทุกหน่วยงาน • ตั้งกลุ่มสำรวจผลการปฏิบัติงานหลังการอบรม ร่วมกับการให้คำปรึกษา • จากหน่วยงานตัวอย่าง • จัดการอบรมความรู้เชิงพัฒนา อย่างต่อเนื่อง • เผยแพร่ความรู้แก่องค์กรภายนอก