1 / 22

สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 25 52 ( ตุลาคม 25 51 - กันยายน 25 52 )

สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 25 52 ( ตุลาคม 25 51 - กันยายน 25 52 ). งานเภสัชกรรมและแพทย์แผนไทย. งานเภสัชกรรมบริการ 1.งานบริการผู้ป่วยนอก 2.งานบริการผู้ป่วยใน 3.งานเภสัชกรรมคลินิก.

yamin
Download Presentation

สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 25 52 ( ตุลาคม 25 51 - กันยายน 25 52 )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552( ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552 ) งานเภสัชกรรมและแพทย์แผนไทย

  2. งานเภสัชกรรมบริการ 1.งานบริการผู้ป่วยนอก 2.งานบริการผู้ป่วยใน 3.งานเภสัชกรรมคลินิก

  3. กรอบอัตรากำลังงานงานเภสัชกรรมบริการเภสัชกร จำนวน 4 อัตราจ.พ.เภสัชกรรม จำนวน 3 อัตราลูกจ้าง จำนวน 2 อัตรา งานเภสัชกรรมและแพทย์แผนไทย

  4. หน้าที่ความรับผิดชอบ การจัดยา การจ่ายยาและแนะนำการใช้ยา งานบริการจ่ายยาคลินิกพิเศษ การติดตามและเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา การบริการให้คำแนะนำปรึกษาปัญหาด้านยา การบริการข้อมูลข่าวสารด้านยา/จดหมายข่าว การติดตามความคลาดเคลื่อนทางยา การติดตามปัญหาจากการใช้ยา การควบคุมการสำรองยาในหอผู้ป่วย การให้ความรู้ด้านยาแก่บุคลากร/นักเรียน/นักศึกษา/บุคคลทั่วไป การเฝ้าระวังการใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ เช่น หญิงตั้งครรภ์,ให้นมบุตร,ภาวะพร่องเอ็นไซม์ G6PD การติดตามเครื่องชี้วัดของหน่วยงาน งานควบคุมกาสำรองยาสำหรับผู้ป่วยคลินิกพิเศษ การสนับสนุนทางเภสัชกรรมกับสถานีอนามัยเครือข่าย

  5. กราฟเปรียบเทียบจำนวนผู้รับบริการจัดและจ่ายยาปีงบประมาณ 2551 / 2552

  6. จำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยในจำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยใน

  7. จำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยนอกจำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยนอก

  8. จำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยคลินิกนอกเวลาจำนวนผู้รับบริการจ่ายยาประเภทผู้ป่วยคลินิกนอกเวลา

  9. สรุปการให้บริการคลินิคนอกเวลาแยกตามสิทธิตุลาคม 51 - กันยายน52 จำนวนผู้รับบริการเฉลี่ย 65 คน ต่อวัน

  10. ดัชนีชี้วัดคุณภาพ 1. อุบัติการณ์การจัดยาผิด 2. อุบัติการณ์การจ่ายยาผิด 3. อัตราการพบคำร้องเรียน/ข้อเสนอแนะในทางลบ 4.จำนวนผู้รับบริการที่รอรับยานานเกิน 10 นาที

  11. อุบัติการณ์การจัดยาผิดเป้าหมาย :ไม่เกิน1 %

  12. อุบัติการณ์การจ่ายยาผิดเป้าหมาย : 0.5%

  13. 3. อัตราการพบคำร้องเรียน/ข้อเสนอแนะในทางลบ เป้าหมาย 0 % ระดับที่ปฏิบัติได้ ไม่พบคำร้องเรียน/ข้อเสนอใน ทางลบ

  14. 4. จำนวนผู้รับบริการที่รอรับยานานเกิน 10 นาที เป้าหมาย ไม่เกิน 5 % ระดับที่ปฏิบัติได้ 1.15 %

  15. งานบริการข้อมูลข่าวสารและเภสัชกรรมคลินิกงานบริการข้อมูลข่าวสารและเภสัชกรรมคลินิก

  16. การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากผลิตภัณฑ์สุขภาพการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากผลิตภัณฑ์สุขภาพ จำนวนรายงานผู้ป่วยแพ้ยา : รวม 32 ฉบับ (ไม่พบผู้ป่วยแพ้ยาซ้ำ) : OPD 16 คน IPD 16คน ( เป้าหมายตาม KPI. อย่างน้อย ปีละ 10 ฉบับ )

  17. กลุ่มอายุ: 1 - 20 ปี 14 คน : 21 - 40 ปี 7 คน : 41-60 ปี 5 คน : 61 ปี ขึ้นไป 6 คน ความรุนแรง ระดับ ไม่ร้ายแรง จำนวน 32 ราย

  18. กลุ่มอาการ APR ที่พบ 1. ผื่นคัน 26 ราย จากยา Ceftriaxone inj. ,Diclofenac inj. , Amoxicillin cap. Penicillin tab. , Hyoscine syr. , Ibuprofen syr. Ciprofloxacin inj. , Cefaclor syr. , Co-trimoxazol tab. , Metronidazol inj. 2. ปากแห้ง คอแห้ง2 ราย จากยา Dimenhydrinate inj. 3. เจ็บแน่นหน้าอก 1 ราย จากยา . Amoxicillin syr. 4. หน้าตาบวม 1 ราย จากยา Diclofenac inj. , Amoxi + Clav. Syr. , Amoxicillin syr.

  19. ดัชนีชี้วัดคุณภาพ 1. อุบัติการณ์การเกิดการแพ้ยาซ้ำ เป้าหมาย ไม่พบ ( 0% ) ระดับที่ปฏิบัติได้ ไม่พบการเกิดการแพ้ยาซ้ำ

  20. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา ( medication error ) พบความคลาดเคลื่อนก่อนถึงตัวผู้ป่วย97.80 % พบความคลาดเคลื่อนขึ้นกับตัวผู้ป่วยแต่ไม่ทำให้ผู้ป่วย ได้รับอันตราย 2.1% เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้นกับผู้ป่วยต้องการการเฝ้าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย 0.1%

  21. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่ผ่านมากิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่ผ่านมา 1. การลดความคลาดเคลื่อนในการจัดและจ่ายยา 2. การเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในระดับรุนแรง 3. การบริหารจัดการยาในกลุ่ม HIGH ALERT DRUG

  22. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพปี 2553 • การพัฒนาแนวทางปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจในการใช้ยา ( OPD Counselling ) • การให้คำปรึกษาด้านยาสำหรับผู้ป่วยพิเศษ ( Fulltime Counselling ) • การลดการคืนยาจากหอผู้ป่วย ( Drug U-turn )

More Related