1.93k likes | 7.06k Views
พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543. ขอบเขตเนื้อหา. 1. ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี 1.1 ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีได้แก่ใครบ้าง 1.2 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีมีอะไรบ้าง 2. ผู้ทำบัญชี 2.1 ผู้ทำบัญชีคือใคร 2.2 คุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชีมีอะไรบ้าง
E N D
พระราชบัญญัติการบัญชีพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543
ขอบเขตเนื้อหา 1. ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี 1.1 ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีได้แก่ใครบ้าง 1.2 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีมีอะไรบ้าง 2. ผู้ทำบัญชี 2.1 ผู้ทำบัญชีคือใคร 2.2 คุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชีมีอะไรบ้าง 2.3 หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทำบัญชีมีอะไรบ้าง 3. การจัดทำบัญชีให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี 4. บทกำหนดโทษ
กำหนดผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ม.8 คือ ผู้มีหน้าที่จัดให้มีการทำบัญชี ประกอบด้วย ๏ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ๏บริษัทจำกัด ๏บริษัทมหาชนจำกัด ๏นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจ ในประเทศไทย ๏กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ๏สถานที่ประกอบธุรกิจเป็นประจำ ๏บุคคลธรรมดา , ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิได้จดทะเบียน ตามที่ รัฐมนตรีประกาศ
หน้าที่ของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีหน้าที่ของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี การทำบัญชี เอกสารที่ต้อง ใช้ประกอบ การลงบัญชี เก็บรักษา บัญชีและ เอกสาร - ปิดบัญชี - งบการเงิน ผู้ทำบัญชี • จัดให้มีผู้ทำบัญชีที่มี • คุณสมบัติตาม • ม.7(6) และ • จัดให้มีการทำบัญชี • ตามที่ ก.ม. กำหนด • ม.8 และทำบัญชี • ตาม ม.7(1)- (4) • ปิดบัญชีภายในเวลาที่ • ก.ม. กำหนด ม.10 • จัดทำเอกสารฯ ตามที่ • ก.ม. กำหนด ม.7(4) - เก็บบัญชีฯ ณ สถานที่ ทำการ ม.13 • จัดทำและนำส่ง • งบการเงิน ต่อ • กรมทะเบียนการค้า • ภายในระยะเวลา • ที่กำหนด ม.11 - เก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี ม.14 • จัดให้มีผู้ทำบัญชี • ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ • พ.ร.บ. มีผลใช้บังคับ • (ขยายได้ไม่เกิน 1 ปี) • ม. 45 ๏ ชนิดของบัญชีที่ต้อง จัดทำ ๏ ข้อความและรายการ ที่ต้องมีในบัญชี ๏ ระยะเวลาที่ต้องลง รายการในบัญชี ๏ เอกสารที่ต้องใช้ ประกอบการลงบัญชี • ส่งมอบเอกสารฯ ให้ • ผู้ทำบัญชีให้ถูกต้อง • ครบถ้วน ม.12 - กรณีสูญหายให้แจ้ง ภายใน 15 วัน ม.15 - 16 (อาจสันนิษฐานได้ว่า มีเจตนาหากไม่ได้เก็บ ในที่ปลอดภัย/ ไม่ได้ ใช้ความระมัดระวัง) ๏ มีรายการย่อตามที่ ก.ม. กำหนด • ควบคุมดูแลผู้ทำบัญชี • ให้จัดทำบัญชีตรง • ต่อความจริงและ • ถูกต้อง ม.19 ๏ ตรวจสอบโดย ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต - กรณีเลิก โดยมิได้ชำระ บัญชี ให้ส่งมอบภายใน 90 วัน ม.17 • เริ่มทำบัญชีนับแต่วันที่ได้รับ • การจดทะเบียน/วันเริ่มประกอบ • กิจการ ม. 9
คุณวุฒิของผู้ทำบัญชี ม. 7 (6) คุณวุฒิผู้ทำบัญชี กลุ่ม ประเภท 1 บุคคลธรรมดา ทำเอง- ไม่กำหนดคุณสมบัติ จ้าง - มีคุณวุฒิเช่นเดียวกับกลุ่ม 3,4 2 ห้างหุ้นส่วนไม่จดทะเบียน ต้องมีคุณวุฒิเช่นเดียวกับกลุ่ม 3,4 3 ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน และบริษัทจำกัด ที่มี ปวส. (บัญชี) - ทุน ไม่เกิน 5 ล้านบาท อนุปริญญา (บัญชี) - สินทรัพย์รวม ไม่เกิน 30 ล้านบาท - รายได้รวม ไม่เกิน 30 ล้านบาท 4 - ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน อย่างต่ำปริญญาตรี (บัญชี) - บริษัทจำกัด - บริษัทมหาชนจำกัด - นิติบุคคลต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย - กิจการร่วมค้า - สถาบันการเงิน - ประกันภัย, ประกันชีวิต - ธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมจาก BOI ทุน ,สินทรัพย์ ,รายได้ มากกว่ากลุ่มที่ 3
หน้าที่ของ “ ผู้ทำบัญชี ” ลงรายการบัญชีเป็นภาษาไทย หากลงรายการเป็นภาษา ต่างประเทศ ให้มีภาษาไทย กำกับ หรือลงรายการเป็นรหัสบัญชีให้มีคู่มือคำแปล รหัสบัญชีที่เป็นภาษาไทยไว้ {ม.21(1)} เขียนด้วยหมึก ดีดพิมพ์ หรือตีพิมพ์ หรือทำด้วยวิธีอื่นใดที่ได้ผลใน ทำนองเดียวกัน {ม.21(2)} จัดทำบัญชีเพื่อให้แสดง ผลการดำเนินงานฐานะ การเงิน หรือการ เปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของ“ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ” ที่เป็นอยู่ตามความเป็นจริงและตามมาตรฐานการบัญชี โดยมีเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีให้ ถูกต้องครบถ้วน (ม. 20)
คำแนะนำในการปฏิบัติของผู้ทำบัญชีคำแนะนำในการปฏิบัติของผู้ทำบัญชี • แจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูลของผู้ทำบัญชี ภายใน 60 วัน • การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ ในทุกรอบสามปี - ในแต่ละรอบจะต้องมีจำนวนชั่วโมงไม่น้อยกว่า 27 ชั่วโมง - ต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับการบัญชี ไม่น้อยกว่า 18 ชั่วโมง - ในแต่ละปีผู้ทำบัญชีจะต้องพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง • การสมัครเป็นสมาชิกหรือขึ้นทะเบียนกับสภาวิชาชีพ
ชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำชนิดของบัญชีที่ต้องจัดทำ • บัญชีรายวัน • บัญชีแยกประเภท • บัญชีสินค้า • บัญชีรายวัน บัญชีแยกประเภทอื่น • บัญชีแยกประเภทย่อย
หลักในการจัดทำบัญชี 1.ถูกต้อง - ตามกฎหมายบัญชี (พ.ร.บ.การบัญชี พ.ศ.2543 - ตามหลักการบัญชี (มาตรฐานการบัญชี) 2.ครบถ้วน - ทุกรายการที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ ได้นำมาบันทึกบัญชี 3. เชื่อถือได้ - ต้องมีรายการเกิดขึ้นจริง - ต้องมีเอกสารหลักฐานสนับสนุนรายการ
การจัดทำบัญชี การซื้อ/ขายสินค้า,บริการ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ 1.รายการค้า รวบรวมเอกสาร/หลักฐาน ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับสินค้า ใบสำคัญจ่าย 2.หลักฐาน/ข้อเท็จจริงทางการบัญชี วิเคราะห์รายการ บัญชีตามที่กฎหมายกำหนด 3.บันทึกรายการในบัญชี 4.งบการเงิน / รายงานทางการเงิน งบดุล งบกำไรขาดทุน ฯลฯ
เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี 1.เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยบุคคลภายนอก 2.เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี เพื่อออกให้แก่บุคคลภายนอก 3. เอกสารที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี เพื่อใช้ภายในกิจการ
การจัดทำ และนำส่งงบการเงิน (ม.11) ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน จัดทำ และยื่นงบการเงิน นิติบุคคลต่างประเทศ ภายใน 5 เดือน กิจการร่วมค้า นับแต่วันปิดบัญชี บริษัทจำกัด จัดทำ และยื่นงบการเงิน บริษัทมหาชนจำกัด ภายใน 1 เดือน นับแต่วันที่งบการเงิน ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่
บทกำหนดโทษ หมวด 5 ม.27-41 • มีโทษผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี หรือผู้ทำบัญชีโดยเฉพาะ • โทษ ทั้งปรับ ทั้งจำ และรุนแรงขึ้น • อธิบดีฯ มีอำนาจเปรียบเทียบปรับได้ กรณีการกระทำผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือโทษปรับและ จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน (ม.41)
WEBSITE กรมพัฒนาธุรกิจการค้า WWW.DBD.GO.TH E-MAIL ADDRESS สำนักกำกับดูแลธุรกิจ MONITORING@THAIREGISTRATION.COM
การจัดทำบัญชีและงบการเงินการจัดทำบัญชีและงบการเงิน (1) รายการค้า • แผนภูมิสรุปการจัดทำบัญชีและงบการเงิน (3.1) บัญชีรายวัน (2) เอกสารประกอบการลงบัญชี (3.2) บัญชีแยกประเภท (3) บันทึกรายการในบัญชี (3.3) บัญชีสินค้า การจัดทำบัญชีประจำวัน การปิดบัญชี (4.1) งบดุล (4.2) งบกำไรขาดทุน (4.3) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของหรืองบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (4) งบการเงิน (4.4) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
ผังบัญชี (Chart of Accounts)
ความหมาย ผังบัญชี คือ ผังที่แสดงรายชื่อบัญชีแยกประเภทของแต่ละกิจการทุกบัญชีโดยจัดเรียงตามลำดับหมวดหมู่บัญชี คือ หมวดบัญชีสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย พร้อมทั้งกำหนดเลขที่บัญชีของแต่ละบัญชีด้วย ในการกำหนดเลขที่บัญชีนั้น เลขตัวแรกจะใช้เป็นเลขประจำหมวดบัญชี และตามด้วยตัวเลขอีก 2 หรือ 3 ตัวก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการว่าจะมีบัญชีมากน้อยเท่าใด ถ้าเป็นกิจการขนาดเล็กก็จะกำหนดผังบัญชีเพียง 2 หลัก เช่น เงินสด เลขที่บัญชี 11 ลูกหนี้การค้า เลขที่ 12 เป็นต้น ประโยชน์ของเลขที่บัญชี จะใช้อ้างอิงการผ่านรายการจากสมุดรายวันไปยังบัญชีแยกประเภท และเพื่อความสะดวกในการค้นหาบัญชีต่างๆ
การกำหนดเลขที่ประจำหมวดบัญชีเป็นดังนี้การกำหนดเลขที่ประจำหมวดบัญชีเป็นดังนี้ หมายเลข 1 แทนหมวดบัญชีสินทรัพย์ หมายเลข 2 แทนหมวดบัญชีหนี้สิน หมายเลข 3 แทนหมวดบัญชีส่วนของเจ้าของ หรือทุน หมายเลข 4 แทนหมวดบัญชีรายได้ หมายเลข 5 แทนหมวดบัญชีค่าใช้จ่าย
ความหมายของสมุดบัญชีแยกประเภทความหมายของสมุดบัญชีแยกประเภท สมุดบัญชีแยกประเภทจัดเป็นสมุดบัญชีขั้นปลายที่จะใช้บันทึกรายการค้าต่าง ๆโดยในสมุดบัญชีแยกประเภทนี้จะช่วยแยกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกต่อการนำข้อมูลไปใช้ในการสรุปผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงินของกิจการโดยทั่วไปสมุดบัญชีแยกประเภทจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ1.สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) 2. สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger)
สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป(General Ledger) บัญชีแยกประเภททั่วไปแบ่งออกได้ดังนี้ 1.1 บัญชีประเภทสินทรัพย์ (Assets) หมายถึง บัญชีที่แสดงสินทรัพย์ที่กิจการเป็นเจ้าของแยกตามประเภทสินทรัพย์ เช่น บัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินค้าคงเหลือ บัญชีวัสดุสำนักงาน บัญชีเครื่องใช้สำนักงาน บัญชีธนาคาร บัญชีที่ดิน เป็นต้น 1.2 บัญชีประเภทหนี้สิน (Liabilities) หมายถึง บัญชีที่แสดงมูลค่าของหนี้สินที่กิจการต้องชำระให้กับบุคคลภายนอก เช่น บัญชีเจ้าหนี้การค้า บัญชีเงินกู้ธนาคาร บัญชีค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บัญชีตั๋วเงินจ่าย เป็นต้น 1.3 บัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity) หมายถึง บัญชีที่แสดงส่วนของเจ้าของที่เพิ่มหรือลดลง ได้แก่ บัญชีทุน บัญชีถอนใช้ส่วนตัว บัญชีรายได้ บัญชีค่าใช้จ่าย
สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) 2.1 สมุดแยกประเภทลูกหนี้เพื่อแยกลูกหนี้เป็นรายบุคล2.2 สมุดแยกประเภทเจ้าหนี้ เพื่อแยกเจ้าหนี้เป็นรายบุคคล
ความหมายและรูปแบบของบัญชีแยกประเภทความหมายและรูปแบบของบัญชีแยกประเภท บัญชีแยกประเภท (Ledger Accounts) หมายถึง รูปแบบซึ่งรวบรวมการบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นไว้เป็นหมวดหมู่ ต่อจากสมุดรายวันทั่วไปรูปแบบบัญชีแยกประเภทที่นิยมใช้ มี 2 รูปแบบ 1. แบบตัว ที (T) ในภาษาอังกฤษ 2. แบบมีช่องยอดคงเหลือ
รูปแบบของบัญชีแยกประเภทรูปแบบของบัญชีแยกประเภท มี 2 แบบคือ (1) ชื่อบัญชี (2) เลขที่บัญชี • แบบบัญชีมาตรฐาน (Standard Ledger Account Form)
รูปแบบของบัญชีแยกประเภทรูปแบบของบัญชีแยกประเภท แบบบัญชีแสดงยอดคงเหลือ (Balance Ledger Account Form) (1) ชื่อบัญชี (2) เลขที่บัญชี
ส่วนต่าง ๆ ของบัญชีแยกประเภท ส่วนต่าง ๆ ของบัญชีแยกประเภท มีดังนี้ • ชื่อบัญชี (Account Name) • เลขที่บัญชี (Account Number) • วันที่ (Date) • รายการ (Explanation) • หน้าบัญชี (Post reference) • เดบิต (Debit) • เครดิต (Credit) • ยอดคงเหลือ (Balance)
การจัดหมวดบัญชี หมวดที่ 1 บัญชีหมวดสินทรัพย์หมวดที่ 2 บัญชีหมวดหนี้สินหมวดที่ 3 บัญชีหมวดส่วนของเจ้าของหมวดที่ 4 บัญชีหมวดรายได้หมวดที่ 5 บัญชีหมวดค่าใช้จ่าย
ความหมายของการผ่านรายการความหมายของการผ่านรายการ การผ่านรายการ (Posting) คือการนำรายการค้ามาบันทึกในสมุดรายวันทั่วไปและผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนของการผ่านรายการขั้นตอนของการผ่านรายการ • ขั้นที่ 1 นำจำนวนเงินในสมุดรายวันทั่วไปไปใส่ช่องจำนวนเงินในบัญชีแยกประเภทให้ถูกต้อง • ขั้นที่ 2 กรอกรายการช่องวันที่ในบัญชีแยกประเภทโดยเขียนปี พ.ศ. ไว้ตอนบนแล้วเขียนชื่อเดือนตามด้วยวันที่ให้ตรงกับวันเดือนปีในสมุดรายวันทั่วไป • ขั้นที่ 3 ในช่องรายการในบัญชีแยกประเภทให้เขียนชื่อบัญชีตรงกันข้ามเป็นรายการอ้างอิงซึ่งกันและกัน • ขั้นที่ 4 ช่องหน้าบัญชีในบัญชีแยกประเภทให้เขียนตัวอักษรย่อของสมุดรายวัน คือ ร.ว. ภาษาอังกฤษ ใช้ J. แล้วตามด้วยเลขหน้าบัญชีของสมุดรายวันซึ่งรายการค้านั้น ๆ ได้บันทึกอยู่ในสมุดรายวันหน้านั้น • ขั้นที่ 5 กลับไปที่สมุดรายวันตรงช่องเลขที่บัญชีแยกประเภทเขียนเลขที่ของบัญชีแยกประเภทของรายการนั้น ๆ ลงในช่องเลขที่บัญชีของสมุดรายวัน