2.61k likes | 3.34k Views
Term paper. ชื่อผลิตภัณฑ์ ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ การผลิต ส่วนประกอบ วิธีการผลิต การเสื่อมเสีย บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ คุณสมบัติของบรรจุภัณฑ์. INTRODUCTION TO FOOD PACKAGING. บทที่ 1 พัฒนาการของบรรจุภัณฑ์. ความสำคัญของบรรจุภัณฑ์. อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัย 4
E N D
Term paper • ชื่อผลิตภัณฑ์ • ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ • การผลิต • ส่วนประกอบ • วิธีการผลิต • การเสื่อมเสีย • บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ • คุณสมบัติของบรรจุภัณฑ์
บทที่ 1 พัฒนาการของบรรจุภัณฑ์
ความสำคัญของบรรจุภัณฑ์ความสำคัญของบรรจุภัณฑ์ • อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัย 4 • ปี พ.ศ. 2543 โลกมีประชากร ประมาณ 6000 ล้านคน • ปี พ.ศ. 2583 โลกมีประชากร ประมาณ 9000 ล้านคน • อาจก่อให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหาร • FAO รายงานว่า ผลิตผลทางการเกษตรประมาณร้อยละ 50 เน่าเสียก่อนถึงมือผู้บริโภค การจัดการและการบรรจุผลิตภัณฑ์อาหาร จึงต้องมีประสิทธิภาพ
ประวัติศาสตร์บรรจุภัณฑ์ : บรรจุภัณฑ์ธรรมชาติ
ประวัติการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ : ยุคโบราณ
ประวัติการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ : ยุคเริ่มแรก
ประวัติการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ : ยุคเริ่มแรก
ประวัติการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ : ยุคปัจจุบัน
ประวัติการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ : ยุคปัจจุบัน
นิยามคำศัพท์ทางการบรรจุนิยามคำศัพท์ทางการบรรจุ • การบรรจุ (packaging : The Packaging Institute International) : หมายถึง การห่อหุ้มผลิตภัณฑ์ สินค้า หรือการบรรจุในซอง ถุง กล่อง ถ้วย ถาด กระป๋อง หลอด ขวด หรืออื่นๆ เพื่อทำหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งหรือหลายหน้าที่ ดังนี้ 1. บรรจุ 2. คุ้มครอง หรือถนอมรักษา 3. สื่อสาร 4. อำนวยประโยชน์ต่อการใช้งาน หากทำหน้าที่ตั้งแต่ 1 ข้อ ขึ้นไป เรียกว่า ภาชนะบรรจุ (package)
นิยามคำศัพท์ทางการบรรจุ (ต่อ) • ภาชนะบรรจุ (package) : ภาชนะหรือโครงสร้างใดๆ ที่ใช้เพื่อ บรรจุ ห่อหุ้ม และรวบรวมผลิตภัณฑ์ให้เป็นหน่วย เพื่อนำส่งถึงผู้บริโภคในสภาพที่สมบูรณ์ นอกจากนั้นยังรวมถึง ฉลากและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการมัดหรือปิดผนึกภาชนะบรรจุด้วย • คอนเทนเนอร์ (container) : โครงสร้างใดๆ ที่ใช้เพื่อ รวบรวมผลิตภัณฑ์ให้เป็นหน่วย เพื่อการขนส่งและกระจายสินค้าเป็นสำคัญ และไม่รวมถึง ฉลากและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการมัดหรือปิดผนึก
หน้าที่หลักของบรรจุภัณฑ์หน้าที่หลักของบรรจุภัณฑ์
4P 1. Packaging 2. Protection/prevention 3. Portable 4. Promotion
หน้าที่รองของบรรจุภัณฑ์หน้าที่รองของบรรจุภัณฑ์ 1. ช่วยให้ทนต่อกระบวนการผลิต : ผลิตภัณฑ์อาหารบางประเภทต้อง บรรจุก่อนนำไปผ่านกระบวนการ ซึ่งใช้ สภาวะต่างกัน วัสดุบรรจุต้องทนต่อ สภาวะได้ : การใช้ไอน้ำแรงดันสูงฆ่าเชื้อจุลินทรีย์
หน้าที่รองของบรรจุภัณฑ์ (ต่อ) 2. ป้องกันการปลอมปนผลิตภัณฑ์ : โดยทั่วไปการป้องกันการปลอมปนเป็นหน้าที่ของอุปกรณ์ ต่างๆ ที่ใช้ปิดภาชนะบรรจุ : อุปกรณ์เหล่านี้จะเปลี่ยนแปลงไป เมื่อมีการเปิดภาชนะ
หน้าที่รองของบรรจุภัณฑ์ (ต่อ) 3. ป้องกันการลักขโมย : เช่น การบรรจุผัก และไม้สด ในกล่อง แทนการบรรจุในเข่ง 4. ป้องกันอันตรายให้เด็ก
การพัฒนาการบรรจุอาหารการพัฒนาการบรรจุอาหาร ความสำคัญของการพัฒนา : การพัฒนาการบรรจุโดยทั่วไปมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการ 1. เพื่อกำหนดระบบการบรรจุ คุณสมบัติและคุณลักษณะของ ภาชนะบรรจุสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ 2. เพื่อปรับปรุงระบบการบรรจุของผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว
การพัฒนาการบรรจุอาหารการพัฒนาการบรรจุอาหาร สาเหตุของการพัฒนา 1. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการแปรรูปและถนอมอาหาร 2. พฤติกรรมผู้บริโภค : ต้องการให้มีการแปรรูปน้อยที่สุด (minimal process) 3. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีวัสดุ : เช่น การใช้ PEN (polyethylene naphthalate) PET (polyethylene terephthalate)
การพัฒนาการบรรจุอาหารการพัฒนาการบรรจุอาหาร สาเหตุของการพัฒนา 4. ระบบการขนส่งและ การจัดจำหน่ายสมัยใหม่ 5. ปฏิบัติตามกฎหมาย 6. ลดต้นทุนการผลิต
วิทยาศาสตร์ วัสดุศาสตร์ การตลาด การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ จิตวิทยา การออกแบบ วิศวกรรมศาสตร์
บทที่ 2 ประเภทของบรรจุภัณฑ์
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ : แบ่งตามการออกแบบ 1. บรรจุภัณฑ์ชั้นในหรือปฐมภูมิ (primary packaging) : อยู่ในสุดติดกับอาหาร : การออกแบบจะคำนึงปัจจัย 2 ประการ (1) ต้องทดสอบจนมั่นใจว่าอาหารที่ผลิตและบรรจุภัณฑ์ที่ เลือกใช้จำเป็นต้องเข้ากันได้ (compatibility) (2) ต้องเป็นบรรจุภัณฑ์ที่วางขายบน shelf หรือไม่
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ : แบ่งตามการออกแบบ
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ : แบ่งตามการออกแบบ
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ : แบ่งตามการออกแบบ 2. บรรจุภัณฑ์ชั้นที่สองหรือทุติยภูมิ (secondary packaging) : เป็นบรรจุภัณฑ์ที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกเข้าด้วยกัน : เพื่อการปกป้องหรือเพื่อการขนส่ง : การออกแบบมักจะเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ต้องแสดงบนหิ้ง ณ จุดขาย 1+2 อาจเรียกว่า “บรรจุภัณฑ์เพื่อการขายปลีก (commercial packaging)”
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ : แบ่งตามการออกแบบ
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ : แบ่งตามการออกแบบ 3. บรรจุภัณฑ์ชั้นที่สามหรือตติยภูมิ (tertiary packaging) : หน้าที่หลักคือ การป้องกันสินค้าระหว่างการขนส่ง : อาจแบ่งย่อยได้ 3 ประเภท (1) ใช้จากแหล่งผลิตถึงแหล่งจำหน่ายปลีก (2) ใช้ระหว่างโรงงาน (3) ใช้จากแหล่งขายปลีก
สัญลักษณ์ (marks) ที่พิมพ์บนบรรจุภัณฑ์ขนส่ง 1. สัญลักษณ์สำหรับการขนส่ง (shipping marks) เป็นรายละเอียดที่พิมพ์เพื่อให้มีการจัดส่งอย่างถูกต้อง สัญลักษณ์ประเภทนี้ประกอบด้วย ตราและชื่อย่อของผู้ซื้อสินค้าหมายเลขที่ตกลงกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย อาจเป็นหมายเลขของใบสั่งซื้อหรือสัญญาซื้อขาย เป็นต้น จุดหมายปลายทางที่ส่งสินค้า พร้อมทั้งหมายเลขประจำตัวบรรจุภัณฑ์ต่อด้วยจำนวนบรรจุภัณฑ์ทั้งหมดที่จัดส่ง
สัญลักษณ์ (marks) ที่พิมพ์บนบรรจุภัณฑ์ขนส่ง 2. สัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับรายละเอียดสินค้า ได้แก่ สายพันธุ์ ระดับคุณภาพ ขนาด ปริมาณ และน้ำหนัก 3. สัญลักษณ์สำหรับการขนย้าย (handling marks) เป็นสัญลักษณ์ที่เป็นภาพ (pictorial form) ได้รับการยอมรับ กันทั่วโลก สัญลักษณ์ภาพนี้จะช่วยทำให้ขนย้ายบรรจุภัณฑ์ทำได้อย่าง ถูกต้อง
สัญลักษณ์สำหรับการขนย้าย (handling marks) สินค้าแตกเปราะได้ง่าย ห้ามใช้ขอเกี่ยว ห้ามตากแดด วางตั้งขึ้นตามหัวลูกศร บริเวณจุดศูนย์ถ่วง ใช้โซ่เกี่ยวรอยบริเวณนี้ เก็บไว้ในที่แห้ง
ตำแหน่งการพิมพ์ของสัญลักษณ์ ตำแหน่งการพิมพ์ของสัญลักษณ์ ส่วนที่ 1 : เป็นรายละเอียดของผู้รับมีขนาดตัวอักษรประมาณ 2 นิ้ว บริเวณบรรทัดสุดท้ายของส่วนนี้ได้แจ้งหมายเลขบรรจุภัณฑ์ต่อด้วยจำนวนบรรจุภัณฑ์ทั้งหมด ส่วนที่ 2 : เป็นรายละเอียดของผู้จัดส่ง ใช้ตัวอักษรขนาดเล็กกว่าส่วนที่ ส่วนที่ 3 : เป็นบริเวณที่ใช้พิมพ์สัญลักษณ์สำหรับการขนย้าย
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ : แบ่งตามวัสดุ • บรรจุภัณฑ์อาหารแบ่งตามวัสดุหลักที่ใช้ในการผลิตได้ 4 ประเภทหลักๆ ได้แก่ • 1. แก้ว • : มีความเฉื่อยต่อการทำปฏิกิริยากับสารเคมี ใส และทำเป็นสี • ต่างๆ ได้ • : สามารถทนแรงกดได้สูง แต่เปราะและแตกง่าย • : สามารถนำกลับมาใช้ได้หลายครั้งอาจถึง 100 ครั้ง • : สามารถนำกลับมาหลอมใช้ใหม่ได้
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ : แบ่งตามวัสดุ 2. เยื่อและกระดาษ : ใช้มาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น : สร้างขึ้นใหม่ได้จากการปลูกป่าทดแทน : สะดวกต่อการขนส่ง 2. พลาสติก : น้ำหนักเบา : ป้องกันการซึมผ่านของอากาศและไอน้ำได้ : ต่อต้านการทำลายจาก mo. : มีคุณสมบัติหลายอย่างที่สามารถเลือกใช้ได้ตามการใช้งาน
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ : แบ่งตามวัสดุ 4. โลหะ: ในอุตสาหกรรมอาหาร วัสดุโลหะที่ใช้มี 2 ชนิด ได้แก่ 4.1 เหล็กเคลือบดีบุก : เป็นบรรจุภัณฑ์ที่แข็งแรง ป้องกันอันตรายได้ดี : ปิดผนึกได้สนิท และฆ่าเชื้อ ด้วยความร้อนได้ : แยกจากขยะได้ง่ายด้วยการใช้ แม่เหล็ก 4.2 อะลูมิเนียม : มักใช้ในรูปกระป๋อง และแผ่น เปลวอลูมิเนียม : น้ำหนักเบา แข็งแรง : ป้องกันการซึมผ่านได้ดี : มีความวาว
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : ประเภทของแก้ว 1. แก้วที่มีสมบัติเป็นกลาง (neutral) : มีปริมาณโบรอนออกไซด์และอลูมินาสูงกว่าแก้วทั่วไป : เรียกว่า แก้วโบโรซิลิเกต (borosilicate glass) : มีความแข็งแรงสูง ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และทนต่อสารเคมี มีการแยกตัวน้อย : บรรจุอาหารที่ต้องนำไปฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิสูง : แต่จุดหลอมเหลวสูง ถึง 1,750 องศาเซลเซียส
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : ประเภทของแก้ว 2. แก้วโซดาไลม์ หรือ แก้วฟลินท์ (soda lime or flint glass) : ผ่านการปรับสภาพผิวให้เป็นกลาง : โดยการเติมอนุมูลซัลเฟอร์ เพื่อทำปฏิกิริยากับอนุมูลด่างที่ผิวแก้ว ด้านในได้เกลือโซเดียมซัลเฟต 3. แก้วธรรมดา : ผลิตจาก ทรายแก้ว หินปูน และโซดาแอช : องค์ประกอบทางเคมีที่สำคัญ คือ ซิลิกาออกไซด์ (SiO2) แคลเซียมออกไซด์ (CaO) และโซเดียมออกไซด์ (Na2O)
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : กระบวนการผลิต
กระบวนการผลิตแก้ว : การขึ้นรูป
กระบวนการผลิตแก้ว : การขึ้นรูป
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : ส่วนประกอบของขวดแก้ว ร่องนูน คอขวด ไหล่ขวด ตัวขวด รอยเว้า มุมหลบก้นขวด
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : รูปแบบของแก้ว 2. jug 3. tumbler 4. jar 1. bottle
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : รูปแบบของแก้ว 6. vial 7. ampoule 5. carboy
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : ฝาสำหรับปิด 1. จุกคอร์ก 3. ฝาเกลียว 2. ฝาจีบ 4. ฝาลัก
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : สมบัติของแก้ว 1. ความเฉื่อยต่อปฏิกิริยาทางเคมี (chemical inertness) : แก้วโซดาไลม์หรือแก้วฟลินท์นิยมใช้บรรจุอาหารและเครื่องดื่มมาก ที่สุด : อาจทำปฏิกิริยากับสารละลายในอาหาร ทำให้ค่าความเป็นกรด-ด่าง เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย แต่อยู่ในระดับต่ำมาก : บรรจุอาหารทุกชนิด ทั้งที่มีกรดสูง เป็นกลาง และเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : สมบัติของแก้ว 2. ป้องกันการซึมผ่านของไอน้ำและแก๊ส (gas and water vapor impermeability) : การซึมผ่านของไอน้ำและแก๊สเป็นศูนย์ : เหมาะกับอาหารที่บรรจุในสภาพสุญญากาศ หรือที่มีแก๊ส ความดันสูง : การเก็บอาหารที่ต้องการความชื้นต่ำๆ เช่น เครื่องเทศ
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : สมบัติของแก้ว 3. ทนต่ออุณหภูมิสูง (high temperature resistant) : แก้วสามารถทนอุณหภูมิสูงถึง 500 องศาเซลเซียส : สามารถทำให้สะอาดและไร้เชื้อได้ทั้งการใช้น้ำร้อน ลมร้อน และสารเคมี : เหมาะกับอาหารประเภท hot fill : เหมาะกับอาหารที่ต้องผ่านการฆ่าเชื้อทั้งแบบพาสเจอไรซ์และ สเตอริไลซ์
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : สมบัติของแก้ว 4. คงรูปและแข็งแรง (rigidity and strength) : ทำให้การบรรจุของเหลวด้วยเครื่องอัตโนมัติ : รับน้ำหนักแรงกดทับระหว่างการซ้อนได้ดี 5. ทนต่อความดันภายใน (internal pressure resistant) : ขวดทรงกลมสามารถทนความดันได้ดีที่สุด แต่ไม่เหมาะต่อการ ใช้งาน จึงต้องออกแบบเป็นทรงกระบอกกลมและไหล่กว้าง
1. บรรจุภัณฑ์ประเภทแก้ว : สมบัติของแก้ว 6. ความใส (clarity) : ทำให้ผู้บริโภคมองเห็นผลิตภัณฑ์ข้างในได้ : มาตรฐานสีที่นิยมผลิตมี 3 สี ได้แก่ 1. สีใส ใช้มากที่สุด 2. สีอำพัน กรองแสง UV ได้ 3. สีเขียว คุณสมบัติคล้ายกับสีอำพัน
สมบัติของบรรจุภัณฑ์ที่ดีสมบัติของบรรจุภัณฑ์ที่ดี 1. เป็นกลาง และไม่ทำปฏิกิริยาใดๆ กับสินค้าที่บรรจุ 2. มีความทนทานต่อความร้อน 3. มีความคงรูป เพื่อสะดวกต่อการวางซ้อนและขนส่ง 4. มีความคงทนแข็งแรง 5. ป้องกันการซึมผ่านของไอน้ำและแก๊ส โดยเฉพาะก๊าซออกซิเจนได้ 6. มีความคงทนถาวร ไม่เสื่อมสภาพตลอดอายุของสินค้า 7. ปิดกลับเพื่อใช้ใหม่ได้ 8. มีทั้งใสและทึบ 9. มีรูปร่างและขนาดต่างๆ ให้เลือกตามความต้องการของต