1.46k likes | 4.6k Views
หลักสูตร ” เครื่องมือวินิจฉัยปัญหา G-IDSS “ ( Global Isuzu Diagnostic Service System). รายการใน G-IDSS. รายการวินิจฉัยปัญหา (เทียบเท่า หรือเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ TECH-2) รายการการโปรแกรมกล่องควบคุม (เทียบเท่ากับ SPS (Service Programming System) รายการดาวน์โหลดข้อมูล MIMAMORI และ DRM
E N D
หลักสูตร”เครื่องมือวินิจฉัยปัญหา G-IDSS “ (Global Isuzu Diagnostic Service System)
รายการใน G-IDSS • รายการวินิจฉัยปัญหา (เทียบเท่า หรือเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ TECH-2) • รายการการโปรแกรมกล่องควบคุม (เทียบเท่ากับ SPS (Service Programming System) • รายการดาวน์โหลดข้อมูล MIMAMORI และ DRM • รายการผังวงจรไฟฟ้า (Wiring Diagram) • รายการเชื่อมต่อระหว่างรายการวินิจฉัยปัญหาและคู่มือซ่อม • รายการอัพเดทโปรแกรมและข้อมูลล่าสุดผ่านอินเตอร์เน็ต • การพัฒนาในอนาคต • การเชื่อมต่อแบบไร้สายระหว่าง Interface box กับ คอมพิวเตอร์ • จดหมายแจ้งข่าวสารการบริการแบบอิเล็คทรอนิค • การสนับสนุนการรีโมทเพื่อทำงานซ่อม • ระบบจัดการและพัฒนาศูนย์บริการ Wireless Server PC Internet USB Cable Smart Cable Interface box
การเชื่อมต่อและการสื่อสารการเชื่อมต่อและการสื่อสาร เซิร์ฟเวอร์G-IDSS@TH เซิร์ฟเวอร์@JPN PCที่ติดตั้งG-IDSSPC สายRS232สำหรับBCM สมาร์ทเคเบิล สาย USB, LAN แบบใช้สายหรือ LAN แบบไร้สาย กล่องเชื่อมต่อ C&Eและบัส(ส่วนประกอบภายในของTHA-1)
ความต้องการคอมพิวเตอร์พื้นฐานความต้องการคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
INTERNET • การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตจำเป็นในการใช้ G-IDSS • ใช้ในการลงทะเบียนเพื่อติดตั้ง G-IDSS (หมายเลขเครื่องของคอมพิวเตอร์และเครื่องมือวินิฉัยต้องลงทะเบียนผ่านทางระบบ G-IDSS ก่อนระบบจึงจะสามารถใช้งานได้) • ใช้ในการรับรองและยืนยันในการลงโปรแกรมกล่องควบคุม • ใช้ในการอัพเดทข้อมูลต่างๆของ G-IDSS • เพื่อความพร้อมในการใช้งานข้อมูลอัพเดทล่าสุด • เพื่อเพิ่มข้อมูลรถยนต์รุ่นใหม่ • เพื่อเพิ่ม หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลการให้บริการ เช่น คู่มือการซ่อม • เพื่อเพิ่ม หรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรมวินิจฉัยปัญหา • เพื่ออัพเดทซอร์ฟแวร์ของกล่อง ECU • เพื่ออัพเดทซอร์ฟแวร์ G-IDSS • เพื่ออัพเดทซอร์ฟแวร์ของ Interface Box
Interface Box • การเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และ Interface Box ทำได้ 2 ทาง • ทางสาย USB หรือ Ethernet • ทางเครื่องข่ายไร้สาย WiFi (802.11b/g) • การเชื่อมต่อระหว่าง Interface Box และรถยนต์ • ทายสายเคเบิล 16 ขั้ว DLC (12 โวลต์ หรือ 24 โวลต์) • ทางสายเคเบิล 3/10/20 ขั้ว (สำหรับรุ่น C&E หรือรถบัส) • อื่นๆ • ช่องต่อเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าแบบ DC 12 โวลต์ หรือ 24 โวลต์ • ขนาดตัวเครื่อง 130 x 190 x 45 (มม) ช่องต่อ Smart Cable ช่องต่อ USB ช่องต่อ LAN ช่องเสียบจ่ายเครื่องไฟ ช่องต่อ RS232 (ปัจจุบันไม่ได้ใช้) Programming power output (ปัจจุบันไม่ได้ใช้) เชื่อมต่อ Txและ Rx ตรวจจับ USB Heartbeat Blink เสาสัญญาณ Wireless ไฟเลี้ยง Ethernet เฉพาะเฟิร์มแวร์ เชื่อมต่อโปรโตคอล การเชื่อมต่อ Ethernet ไม่ใช้งาน
Smart Cable • Smart Cable เป็นตัวกลางระหว่าง Interface Box และรถยนต์ • ไม่จำเป็นต้องแปลงไฟ 24 V เป็น 12 V • สามารถใช้กับหัวต่อแบบ 3/10/20 ขั้วได้ Smart Cable
การติดตั้งโปรแกรม G-IDSS หมายเหตุ ติดตั้งแผ่น DVD โปรแกรม IDSS (ISUZU DIAGNOSTIC SERVICE SYSTEM) ก่อนที่จะเชื่อมต่อ Interface Box เข้ากับ เครื่องคอมพิวเตอร์ การลงโปรแกรมจะไม่สำเร็จ ถ้ามีการเชื่อมต่อ Interface Box เข้ากับคอมพิวเตอร์ระหว่างการติดตั้งโปรแกรม การติดตั้งโปรแกรม IDSS • ใส่แผ่น DVD (IDSS) ลงในเครื่องอ่าน DVD หมายเหตุ ขั้นตอนการลงโปรแกรมจะเริ่มเมื่อใส่แผ่น DVD (GIDSS) ลงในเครื่องอ่าน DVD • ตรวจสอบให้มั่นในว่า Interface Box ไม่ได้เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ • ทำตามคำแนะนำที่แสดงขึ้นในหน้าจอ หน้าจอเตรียมการติดตั้ง ยอมรับข้อตกลงในสัญญา เลือกภาษา เลือกที่ติดตั้งโปรแกรม
การติดตั้งโปรแกรม G-IDSS • ต้องลงทะเบียนโปรแกรมก่อนการใช้งาน โดยใช้หมายเลขที่ระบุไว้ในซีดีรอม G-IDSS (หมายเลขในซีดีรอมสามารถใช้ได้เพียงครั้งเดียว) หมายเหตุ : คอมพิวเตอร์ต้องเชื่อมอินเตอร์เน็ตต่อจึงสามารถลงเทียนโปรแกรมได้ ลงทะเบียนเสร็จสิ้น ลงทะเบียน
การติดตั้งโปรแกรม G-IDSS เมื่อลงทะเบียนสำเร็จแล้วจะปรากฏหน้าจอการติดตั้ง คลิกที่ปุ่มสิ้นสุดการติดตั้ง (Finish)
การติดตั้งโปรแกรม G-IDSS • ตรวจสอบว่า Interface Box ไม่ได้เชื่อมต่ออยู่กับคอมพิวเตอร์คลิกตกลง (OK) • ไดร์เวอร์จะติดให้ให้โดยอัตโนมัติ • เมื่อติดตั้งไดร์เวอร์เสร็จ จะปรากฏหน้าต่างอัพเดทโปรแกรม ให้คลิกตกลง (OK) เพื่อทำการอัพเดท
การติดตั้งโปรแกรม G-IDSS • หน้าต่างการกำหนดค่าและปรับค่าจะปรากฏขึ้นและรายการอัพเดททั้งหมดจะขึ้นมาโดยอัตโนมัติ • เมื่ออัพเดทเสร็จสิ้นจะปรากฏหน้าต่างดังนี้
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ • ข้อควรระวัง : ให้ใช้สายเคเบิลสำหรับ G-IDSS เท่านั้น ห้ามทำการแก้ไขหรือดัดแปลงสาย และให้มั่นใจว่าเสียบสายถูกต้องก่อนการใช้โปรแกรม G-IDSS • ก่อนทำการวินิจฉัยรถยนต์ อุปกรณ์เหล่านี้ต้องเชื่อมต่อกัน • เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงโปรแกรม G-IDSS • IDSS Interface Box • สายเคเบิล (Smart Cable) • สาย USB 3 2 4 1 • การเชื่อมต่ออุปกรณ์ • เชื่อมต่อสาย USB เข้ากับคอมพิวเตอร์ • เชื่อมต่อสาย USB เข้ากับ IDSS Interface Box • เชื่อมต่อสายเคเบิล (Smart Cable) เข้ากับ IDSS Interface Box • ต่อสายเคเบิล (Smart Cable) เข้ากับรถยนต์
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ • เมื่อสาย USB เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะพบอุปกรณ์โดนอัตโนมัติ ให้ทำตามขั้นตอนที่ปรากฏขึ้น
ส่วนการแสดงผล • การเลือกรุ่นรถยนต์เพื่อเข้าวินิจฉัย • เข้าทางแถบเลือกรุ่นรถ • เข้าทางการใส่ VIN • เข้าทางการเรียก VIN จาก กล่อง ECM • เข้าทางข้อมูลเก่า(ข้อมูลรถที่เคยเรียกไว้ (โปรแกรมสามารถจำได้ 30 คัน) 5. การอัพเดทโปรแกรมผ่านอินเตอร์เน็ท 6. ข่าวสารการบริการ(เก็บได้ 30 ฉบับ) 7. เปลี่ยนภาษา 7 2 3 1 5 6 4
ตัวช่วยเหลือ และ เวอร์ชั่นโปรแกรม คลิกที่เมนู Help จากนั้นเลือก Help File โปรแกรมจะเปิดตัวช่วยเหลือขึ้นมา ซึ่งตัวช่วยเหลือคือ คู่มือการใช้ทั่วไปของ G-IDSS คลิกที่เมนู Help จากนั้นเลือก About โปรแกรมจะเปิดหน้าต่างข้อมูลทั่วไปของโปรแกรม IDSS ซึ่งประกอบไปด้วย เวอร์ชั่นของโปรแกรม เฟิร์มแวร์เวอร์ชั่น รหัสศูนย์บริการ รหัสลงทะเบียนโปรแกรม วันหมดอายุ
ภาพรวมโปรแกรม เมื่อเข้าเลือกรุ่นรถที่ต้องการทำการวินิจฉันแล้ว จะปรากฏหน้าต่างใหม่ขึ้นมา ซึ่งที่เมนูด้านซ้ายประกอบไปด้วย Service Information (คู่มือการซ่อม) Diagnostics (การวินิจฉัย) Controller programming (การลงโปรแกรมระบบควบคุม) Utility Functions (การเรียกดูสแนปช๊อต)
แถบเครื่องมือ ยังไม่เปิดใช้งาน สถานะการเชื่อมต่อ รูปสายฟ้าจะเปลี่ยนจากสีเทาเป็นสีเหลืองเมื่อมีการเชื่อมต่อ Print : สั่งพิมพ์หน้าที่แสดงอยู่ Table of content : สารบัญคู่มือการซ่อม DRM : ดาวน์โหลดข้อมูลการขับขี่ MIMAMORI : ดาวน์โหลดข้อมูลมิมาโมริ Utility Function : เรียกดูสแนปช๊อต Controller programming : การลงโปรแกรมใน ECU Diagnostics : การวินิจฉัย Service information : คู่มือการซ่อม Home : กลับไปหน้าเลือกรุ่นรถ
คู่มือการซ่อม เนื้อหาของคู่มือซ่อมจะเปลี่ยนไปตามรุ่นรถยนต์ที่เลือก โดยสารบัญของคู่มือซ่อมจะแสดงด้านขวาและเนื้อหาจะแสดงด้านซ้าย โดยสามารถเลื่อนแถบเลื่อนทางด้านขวาเพื่อดูข้อมูลและภาพ
คู่มือการซ่อม (ระบบควบคุมเครื่องยนต์) เชื่อมต่อข้อมูลตัวรถ
การเชื่อมต่อคู่มือการซ่อมกับการวินิจฉัยการเชื่อมต่อคู่มือการซ่อมกับการวินิจฉัย เมื่อคลิกที่ Enhanced Diagnostics จะมีหน้าต่างแสดง ข้อมูลรายการที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และรหัสปัญหาที่แสดงอยู่ในขณะนั้น
แผนผังวงจรไฟฟ้า • ETM (ผังวงจรไฟฟ้า) สามารถเรียกดูแต่ระบบได้โดยเลือกหัวข้อจากสารบัญ ซึ่งเมื่อเลือกแล้วโปรแกรมจะแสดงผังวงจรระบบที่เลือกที่ด้านขวา
แผนผังวงจรไฟฟ้า เมื่อคลิกที่รูปภาพ จะแสดงหน้าต่าง พร้อมเมนูเพื่อสะดวกในการใช้งานมากยิ่งขั้น
แผนผังวงจรไฟฟ้า ใช้สำหรับเลือกเพื่อดูวงจร ใช้ในการซูมเข้า / ออก ใช้เพื่อกำหนดขนาดวงจรให้พอดีหน้าจอ ใช้ในการเปลี่ยนหน้าผังวงจร ใช้ในการหาคำที่เกี่ยวข้องและป้ายแถบสี
แผนผังวงจรไฟฟ้า เมื่อคลิกที่หมายขั้วปลั๊กสายไฟ โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างรูปขั้วปลั๊กสายไฟ และเมื่อกดปุ่ม NEXT โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างระบุตำแหน่งที่ตั้งของขั้วปลั๊กสายไฟ
หัวข้อการวินิจฉัยปัญหาหัวข้อการวินิจฉัยปัญหา เมื่อเลือกหัวข้อวินิจฉัยปัญหา โปรแกรมจะแสดงระบบต่างในที่มีในรถยนต์ ระบบเครื่องยนต์ ระบบส่งกำลัง ระบบแชสซีส์ ระบบตัวถัง ในกรณีที่หน้าต่างนี้แสดงขึ้นมาให้รอ เพื่อทำการอัพเดทระบบ ห้ามปิดโปรแกรมหรือถอดสายต่างๆ
การเชื่อมต่อกับตัวรถ ให้ตรวจสายต่างๆ ว่าติดตั้งสมบูรณ์หรือไม่
การวินิจฉัยปัญหา ในแต่ละระบบจะประกอบไปด้วย DTC(s) Data List Actuator Test Programming Special Function DTC Memory Read Module Information
เมื่อกด Clear All จะเป็นการลบรหัสปัญหา ซึ่งจะทำการลบ Freeze Frame / Failure Record ด้วย
การเชื่อมต่อรหัสปัญหากับคู่มือการซ่อมการเชื่อมต่อรหัสปัญหากับคู่มือการซ่อม เมื่อดับเบิ้ลคลิก จะปรากฏหน้าต่าง แสดงเนื้อหาของคู่มือซ่อมที่เกี่ยวข้องกับรหัสปัญหา
รายการข้อมูล รายการข้อมูลประกอบไปด้วย ข้อมูลขณะตัวรถขณะนั้น รายการรหัสปัญหา กราฟ การสแนปช๊อตด่วน การสแนปช๊อต การดูข้อมูลเฉพาะ 2 1 6 3 4 5
รายการข้อมูล รายการรหัสปัญหาจะแสดงที่มุมขวาบน สามารถดับเบิ้ลคลิกเพื่อเข้าไปดูข้อมูลได้ เมื่อดับเบิ้ลคลิกที่รูปแว่นขยายจะปรากฏหน้าต่าง ข้อมูลรายการตัวที่เลือกขึ้นมาเพื่อสะดวกในการวิเคราะห์
การแสดงกราฟ เมื่อคลิกที่รูปกราฟ จะปรากฏหน้าต่างแสดงกราฟตัวที่เลือก ซึ่งใน 1 กราฟจะแสดงข้อมูลได้สูงสุด 4ตัว โดยจะแสดงแยกสีโดยอัตโนมัติ
การสแนปช๊อตด่วน การสแนปช๊อตเป็นการบันทึกรายการข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะนั้น โดยเริ่มบันทึก โดยกดปุ่ม และหยุดการบันทึกโดยกดปุ่ม เมื่อหยุดการบันทึกจะปรากฏหน้าต่างข้อมูลที่ทำการบันทึกไว้
การสแนปช๊อต การสแนปช๊อตสามารถเลือกรูปแบบได้เหมือน Tech-2 โดยกดปุ่ม จากนั้นกดปุ่ม Continue เมื่อปรับค่าตามที่ต้องเรียบร้อย จะเริ่มทำการสแนปช๊อต
การจัดการไฟล์สแนปช๊อตที่เก็บไว้การจัดการไฟล์สแนปช๊อตที่เก็บไว้ ให้กดเข้าไปที่ Utility Function แล้วเลือก Manage Saved Snapshot Files
การเปิดและส่งออกไฟล์สแนปช๊อตการเปิดและส่งออกไฟล์สแนปช๊อต ติ๊กเครื่องหมายถูกที่ไฟล์ที่ต้องการเลือกปุ่ม Open เพื่อเปิดไฟล์ที่เซฟเก็บไว้ ในกรณีที่ต้องการส่งไฟล์สแนปช๊อต ให้เลือก Export และกำหนดจุดที่ต้องการเก็บไฟล์ไว้ ลักษณะไฟล์ที่ถูก Export ออกมา
Actuator Tests ใช้สำหรับตรวจสอบการทำงานของ Actuator ต่างๆ เหมือนที่มีใน Tech-2
Actuator Tests ตรวจสอบการทำงานของหัวฉีด
Programming ใช้ในการลงโปรแกรมอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ลงโค้ดหัวฉีด
ข้อมูลของระบบควบคุม (ECM)
Scan Tool Preview ใช้สำหรับตรวจดูรายการ Data list ของแต่ละระบบ ว่ามีรายการอะไรบ้าง โดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับตัวรถ
การปรับแต่งกราฟ ปรับสีเส้นกราฟ ปรับสีพื้นหลัง
Table of Contents colors ใช้สำหรับการเปลี่ยนสีตัวอักษรด้าน ซ้ายมือที่เป็นสารบัญ