850 likes | 1.05k Views
Khao-Kwan Foundation. โครงการส่งเสริมการจัดการความรู้ เรื่อง การทำนาข้าวในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน กรณีศึกษาโรงเรียนชาวนา ในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน มูลนิธิข้าวขวัญ สุพรรณบุรี. แผนผังการจัดการความรู้ โครงการส่งเสริมการจัดการความรู้ เรื่อง การทำนาข้าวในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน. แหล่งเรียนรู้
E N D
โครงการส่งเสริมการจัดการความรู้เรื่อง การทำนาข้าวในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน กรณีศึกษาโรงเรียนชาวนาในระบบเกษตรกรรมยั่งยืนมูลนิธิข้าวขวัญ สุพรรณบุรี
แผนผังการจัดการความรู้ โครงการส่งเสริมการจัดการความรู้เรื่อง การทำนาข้าวในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน แหล่งเรียนรู้ มูลนิธิข้าวขวัญ / องค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง ใหม่ เก่า เรียนรู้ก่อนทำ - วิทยากรภายนอก - ศึกษาดูงานนอกพื้นที่ องค์ความรู้เก่าและใหม่ การเกษตร วัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีปฏิบัติ
โจทย์ปัญหาที่ได้จากการระดมความคิดเห็นโจทย์ปัญหาที่ได้จากการระดมความคิดเห็น • ต้นทุนสูง • หนี้สินเพิ่ม • ใช้สารเคมีมาก • สิ่งแวดล้อมเสีย • สุขภาพเสื่อมโทรม • ครอบครัวและชุมชนมีปัญหา • วัฒนธรรมประเพณี สูญหาย • ศักดิ์ศรีชาวนาตกต่ำ
ต้นทุนการทำนาสูง ( ปี 2549 )
หนี้สินเพิ่มพูน ที่มา: เอกสารประกอบการปฏิรูประบบสุขภาพ สำหรับการประชุมเวทีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546
หนี้สินชาวนาสุพรรณบุรี (พ.ศ. 2547) • เฉลี่ยครอบครัวละ 300,0000 บาท (ที่มา) รายงานผลกระทบด้านสุขภาพในการใช้สารเคมี เอ็นโดซันแฟนในนาข้าว โดยมูลนิธิข้าวขวัญ
การใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยยูเรียในนาข้าวการใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยยูเรียในนาข้าว
การใช้สารเคมีควบคุมวัชพืช/ศัตรูพืชการใช้สารเคมีควบคุมวัชพืช/ศัตรูพืช
สุขภาพเสื่อมโทรม ที่มา: เอกสารประกอบการปฏิรูประบบสุขภาพ สำหรับการประชุมเวทีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546
เป้าหมายและรูปแบบการทำงานร่วมกันเป้าหมายและรูปแบบการทำงานร่วมกัน • ปรับเปลี่ยนวิธีการผลิต เพื่อลดต้นทุน • แก้ไขปัญหาหนี้สิน • สิ่งแวดล้อมดี • สุขภาพดีทั่วหน้า ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข • ฟื้นฟู วัฒนธรรมประเพณี ศักดิ์ศรีชาวนา
หลักสูตรโรงเรียนชาวนา 3 ระดับ 1.การควบคุมโรคแมลงในนาข้าวโดยชีววิธี 2. การปรับปรุงบำรุงดินโดยชีววิธี 3. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวสำหรับนาอินทรีย์
กลุ่มชาวนาเป้าหมายโรงเรียนชาวนามูลนิธิข้าวขวัญ จังหวัดสุพรรณบุรี 1. อำเภอเมือง - บ้านโพธิ์ตะวันตก/บ้านลุ่มบัว บ้านลาดตานวล/บ้านไผ่แขก บ้านบึงคัน/บ้านหนองตาโม 2.อำเภอบางปลาม้า - บ้านวัดดาว/บ้านสังโฆ 3.อำเภออู่ทอง - บ้านยางลาว/บ้านดอน 4.อำเภอดอนเจดีย์ - บ้านหนองแจง/บ้านหนองแต้ บ้านหินแรง/บ้านจิกรากข่า เชื้อสายไทย/เขมร เชื้อสายไทย/ลาวพวน เชื้อสายไทยทรงดำ (ลาวโซ่ง) เชื้อสายลาวเวียง
ข้อตกลงร่วมของนักเรียนโรงเรียนชาวนาข้อตกลงร่วมของนักเรียนโรงเรียนชาวนา • นักเรียนชาวนาทุกคน ต้องมีแปลงนาในการทดลองของตนเอง อย่างน้อยที่สุดจำนวน 2 ไร่ ไม่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในแปลงนาทดลองตลอดหลักสูตร • โรงเรียนชาวนาเปิดเรียนสัปดาห์ละ 1 วันๆ ละ 3 ชั่วโมง คือ 09.00 – 12.00 น. กำหนดให้เป็นวันใดวันหนึ่งตลอดทั้งหลักสูตร เช่น ทุกวันอังคาร • นักเรียนชาวนาห้ามขาดเรียนติดต่อกันเกิน 2 ครั้ง แต่ถ้าหาตัวแทนภายในครอบครัว ที่สามารถตัดสินใจได้ ก็ถือว่าไม่ขาดเรียน • นักเรียนชาวนาห้ามขาดเรียนเกิน 5 ครั้ง หากขาดเกิน 5 ครั้งจะไม่ได้รับวุฒิบัตร • นักเรียนชาวนาที่มาลงทะเบียนเรียนต่อเนื่องกันอย่างน้อย 10 ครั้ง จึงจะได้รับ เสื้อนักเรียนชาวนาเป็นกรรมสิทธิ์
เรียนรู้จากวิทยากรภายนอกเรียนรู้จากวิทยากรภายนอก
เรียนรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่นเรียนรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
การเรียนรู้และทำงานร่วมกันการเรียนรู้และทำงานร่วมกัน
การฝึกบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนชาวนาการฝึกบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนชาวนา
ตัวอย่างสมุดบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนชาวนาตัวอย่างสมุดบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนชาวนา
ระดับประถมศึกษาหลักสูตรการควบคุมโรคแมลงในนาข้าวโดยชีววิธีระดับประถมศึกษาหลักสูตรการควบคุมโรคแมลงในนาข้าวโดยชีววิธี การโฉบแมลงในแปลงนา
การบันทึกลักษณะของแมลงจากแปลงนาเป็นเครื่องมือทบทวนความจำการบันทึกลักษณะของแมลงจากแปลงนาเป็นเครื่องมือทบทวนความจำ
เรียนรู้สมุนไพรชนิดต่างๆที่ใช้ควบคุมโรคแมลงเรียนรู้สมุนไพรชนิดต่างๆที่ใช้ควบคุมโรคแมลง
วิธีการใช้สมุนไพรควบคุมโรคแมลงวิธีการใช้สมุนไพรควบคุมโรคแมลง
ระดับมัธยมศึกษา หลักสูตรการปรับปรุงบำรุงดินโดยชีววิธี
การเรียนรู้วิธีตรวจสอบสภาพดินการเรียนรู้วิธีตรวจสอบสภาพดิน
วัดค่าความเป็นกรด-ด่างวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง ชั่งน้ำหนักดิน ตรวจสอบธาตุอาหารในดิน ดมความหอมของดิน
การเก็บจุลินทรีย์จากป่าสมบูรณ์การเก็บจุลินทรีย์จากป่าสมบูรณ์ เก็บจากดินในป่าที่สมบูรณ์
เก็บจากน้ำ เก็บจากขอนไม้ผุ
การขยายพันธุ์จุลินทรีย์การขยายพันธุ์จุลินทรีย์
โฉมหน้าการเดินเชื้อของจุลินทรีย์โฉมหน้าการเดินเชื้อของจุลินทรีย์
ผลการวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่เก็บได้จากป่าผลการวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่เก็บได้จากป่า ผลการวิเคราะห์ใบไผ่ที่เก็บไป พบจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ดังนี้ 1.ไตรโคเดอร์มา 3 ชนิด 2.บาซิลัส 4 ชนิด 3.ไรโซปัส 3 ชนิด 4.ยีสต์ 9 ชนิด 5.เชื้อรา 1 ชนิด 6.แบคทีเรีย 2 ชนิด
ตัวอย่างภาพจุลินทรีย์จากกล้องจุลทรรศน์ตัวอย่างภาพจุลินทรีย์จากกล้องจุลทรรศน์ ไตรโคเดอร์มา บาซิลัส ไรโซปัส ยีสต์
ผลจากการศึกษาจุลินทรีย์จากใบไผ่ตัวอย่างผลจากการศึกษาจุลินทรีย์จากใบไผ่ตัวอย่าง 1.มีเชื้อราไตรโคเดอร์มาหลายสายพันธุ์ สามารถปลดปล่อยสารที่ เพิ่มการเจริญเติบโตของพืชได้ 2.มีเชื้อราและยีสต์หลายชนิดที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมสูง และมี ความสามารถในการสร้างเอนไซม์ต่างๆได้ 3. มีแบคทีเรียบาซีลัสและยีสต์หลายชนิด ที่สามารถสร้างสารยับยั้ง เชื้อราและแบคทีเรียโรคพืชได้ 4. หากนำใบไผ่นี้ ไปใช้ในแปลงเพาะปลูกพืช จะเป็นผลดีอย่างยิ่งต่อ การปลูกพืชของเกษตรกร ไม่ว่าจะเป็นการลดปัญหาด้านโรคพืช และเพิ่มการเจริญเติบโตได้
การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์
วิธีการใช้น้ำจุลินทรีย์ในกระบวนการทำนา การใช้จุลินทรีย์บำรุงต้นข้าว การใช้จุลินทรีย์ช่วงเตรียมแปลงนา
ผลจากการใช้จุลินทรีย์ในการปรับปรุงบำรุงดินผลจากการใช้จุลินทรีย์ในการปรับปรุงบำรุงดิน
เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของรากข้าวที่เกิดจากการปรับปรุงดินด้วยวิธีต่างๆเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของรากข้าวที่เกิดจากการปรับปรุงดินด้วยวิธีต่างๆ ดินที่เกิดจากการเผาฟาง ดินที่ใช้ปุ๋ยเคมี ดินที่ใช้ปุ๋ยชีวภาพ ดินที่ใช้ปุ๋ยชีวภาพร่วมกับจุลินทรีย์
ระดับอุดมศึกษาหลักสูตรการปรับปรุงพันธุ์ข้าวสำหรับนาอินทรีย์ระดับอุดมศึกษาหลักสูตรการปรับปรุงพันธุ์ข้าวสำหรับนาอินทรีย์
นำข้าวเปลือกมากะเทาะเปลือกด้วยเครื่องนำข้าวเปลือกมากะเทาะเปลือกด้วยเครื่อง
ลักษณะข้าวกล้องที่ผ่านการกะเทาะเปลือกลักษณะข้าวกล้องที่ผ่านการกะเทาะเปลือก
การคัดเมล็ดข้าวกล้องเพื่อให้ได้คุณภาพที่ต้องการการคัดเมล็ดข้าวกล้องเพื่อให้ได้คุณภาพที่ต้องการ